ผลต่างระหว่างรุ่นของ "กลศาสตร์ดั้งเดิม"

เนื้อหาที่ลบ เนื้อหาที่เพิ่ม
KittapatR (คุย | ส่วนร่วม)
KittapatR (คุย | ส่วนร่วม)
ไม่มีความย่อการแก้ไข
บรรทัด 19:
{|class="wikitable" style="float:right; margin:0 0 1em 1em;"
|-
|colspan="2" style="text-align:center;" width="300pt"|หน่วยอนุพันธ์ [[ระบบหน่วยวัดระหว่างประเทศ|SI]] ที่เกี่ยวข้องกับเครื่องกล <br>(โดยไม่เกี่ยวข้องกับ[[ฟิสิกส์แม่เหล็กไฟฟ้า]]หรือ[[ฟิสิกส์อุณหภาพ]])<br>ในหน่วยของ[[กิโลกรัม]] [[เมตร]] และ[[วินาที]]
|-
|ตำแหน่ง||เมตร
บรรทัด 73:
|[[ค่าความหนาแน่น]] (Number density)||เมตร<sup>−3</sup>
|-
|[[การกระทำ (ฟิสิกส์)|การกระทำ]] (Action)||กิโลกรัม·เมตร<sup>2</sup>·วินาที<sup>−1</sup>
|}
''ตำแหน่ง'' ของอนุภาคจุดได้ถูกกำหนดตามจุดอ้างอิงที่กำหนดได้เองในปริภูมิ เรียกว่า จุดกำเนิด (Origin) ซึ่งในปริภูมิ จะให้ตำแหน่งอยู่ใน[[ระบบพิกัด]] โดยในระบบพิกัดอย่างง่ายมักกำหนดตำแหน่งวัตถุ และมีลูกศรที่มีทิศทางเป็น[[เวกเตอร์]]ในกลศาสตร์ดั้งเดิม โดยเริ่มจากจุดกำเนิดลากไปยังตำแหน่งของวัตถุ เช่น ตำแหน่ง '''r''' อยู่ในฟังก์ชันของ ''t'' ([[เวลา]]) ในสัมพัทธภาพช่วงก่อนไอน์สไตน์ (หรือเป็นที่รู้จักในชื่อ [[สัมพัทธภาพกาลิเลโอ]]) เวลาเป็นสิ่งสัมบูรณ์ คือ เวลาที่สังเกตมีระยะเท่ากันหมดในทุกผู้สังเกต ยิ่งไปกว่า[[เวลาสัมบูรณ์]] กลศาสตร์ดั้งเดิมยังให้โครงสร้างของปริภูมิมีลักษณะโครงสร้างเป็น[[เรขาคณิตยูคลิด]]อีกด้วย
บรรทัด 106:
 
<math>\mathbf{a} = {\mathrm{d}\mathbf{v} \over \mathrm{d}t} = {\mathrm{d^2}\mathbf{r} \over \mathrm{d}t^2}.</math>
 
โดยความเร่งจะแสดงถึงความเร็วที่เปลี่ยนแปลงไปในช่วงเวลานั้น ๆ ไม่ว่าเป็นอัตราเร็ว ทิศทางของความเร็ว หรือทั้งสองอย่าง ซึ่งถ้าความเร็วลดลงไปเรื่อย ๆ เพียงอย่างเดียว ก็สามารถเรียกได้ว่าความหน่วงเช่นกัน แต่ปกติแล้ว ทั้งความหน่วงและความเร่งมักถูกเรียกง่าย ๆ ว่าความเร่งเพียงอย่างเดียว
 
{{สาขาฟิสิกส์}}