ผลต่างระหว่างรุ่นของ "สมเด็จพระอริยวงษญาณ (สุก ญาณสังวร)"

เนื้อหาที่ลบ เนื้อหาที่เพิ่ม
จันทราสว่าง (คุย | ส่วนร่วม)
ไม่มีความย่อการแก้ไข
บรรทัด 5:
|ชื่อทั่วไป =
|สมณศักดิ์ = สมเด็จพระอริยวงษคตญาณ สมเด็จพระสังฆราช
|วันเกิด = 5 มกราคม พ.ศ. 2276
|วันบวช =
|วันตาย = 4 กันยายน พ.ศ. 2365
|พรรษา = 69
|อายุ = 89
|วัด = วัดราชสิทธารามราชวรวิหาร<br>วัดมหาธาตุยุวราชรังสฤษฎิ์ราชวรมหาวิหาร
|จังหวัด = กรุงเทพมหานคร
|สังกัด = มหานิกาย
บรรทัด 17:
}}
 
'''สมเด็จพระอริยวงษญาณ สมเด็จพระสังฆราช (สุก ญาณสังวร)''' ทรงเป็นสมเด็จ[[พระสังฆราช]]พระองค์ที่ 4 แห่ง[[กรุงรัตนโกสินทร์]] สถิต ณ [[วัดมหาธาตุยุวราชรังสฤษดิ์สฤษฎิ์ราชวรมหาวิหาร]] ได้รับการสถาปนาเป็น[[สมเด็จพระสังฆราช]]เมื่อปี พ.ศ. 2363 อยู่ในตำแหน่ง 3 พรรษา สิ้นพระชนม์ เมื่อวันที่ 4 กันยายน พ.ศ. 2365 พระชนมายุได้ 90 พรรษา
 
พระองค์ประสูติเมื่อวันศุกร์ ขึ้น 10 ค่ำ เดือนยี่ ปีฉลู จ.ศ. 1095 ตรงกับวันที่ 5 มกราคม พ.ศ. 2276<ref>{{อ้างหนังสือ|ผู้แต่ง = พระมหาสมคิด สุรเตโช| ชื่อหนังสือ = ประวัติวัดราชสิทธาราม ราชวรวิหาร| จังหวัด = กรุงเทพฯ| พิมพ์ที่ = ธรรมเมธี-สหายพัฒนาการพิมพ์ | ปี = 2548| จำนวนหน้า = 142| หน้า = 2}}</ref> ในรัชสมัย[[สมเด็จพระเจ้าอยู่หัวบรมโกศ]] แห่ง[[กรุงศรีอาณาจักรอยุธยา]] ในสมัย[[กรุงธนบุรี]] ได้เป็นพระอธิการอยู่วัดท่าหอย แขวงรอบกรุงเก่า มีพระเกียรติคุณในทางบำเพ็ญสมถภาวนา
 
ในรัชสมัย[[พระบาทสมเด็จพระพุทธยอดฟ้าจุฬาโลกมหาราช]] ได้โปรดให้นิมนต์พระองค์มาอยู่ที่วัดพลับ ([[วัดราชสิทธารามราชวรวิหาร]]) และให้เป็น[[พระราชาคณะ]]ที่ พระญาณสังวรเถร พระองค์เป็นพระอาจารย์ของพระบาทสมเด็จพระพุทธยอดฟ้า ตั้งแต่ยังอยู่ที่วัดท่าหอย การที่โปรดให้นิมนต์มาอยู่ที่วัดพลับ ก็เนื่องจากเป็นวัดสำคัญฝ่ายอรัญวาสีของกรุงธนบุรี ซึ่งต่อมาในรัชสมัย[[พระบาทสมเด็จพระนั่งเกล้าเจ้าอยู่หัว]]จึงได้รับพระราชทานชื่อใหม่ว่า [['''วัดราชสิทธาราม]]''' พระองค์ได้รับสถาปนาเป็น สมเด็จพระญาณสังวร เมื่อ

ปี พ.ศ. 2359 ในรัชสมัย[[พระบาทสมเด็จพระพุทธเลิศหล้านภาลัย]] และพระองค์ได้รับสถาปนาเป็น[[สมเด็จพระราชาคณะ]]ที่[[สมเด็จพระญาณสังวร]] เมื่อได้รับสถาปนาเป็นสมเด็จพระสังฆราชในอีก 4 ปีต่อมา เมื่อมีพระชนมายุได้ 88 พรรษา ตำแหน่งสมเด็จพระราชาคณะที่สมเด็จพระญาณสังวร นับว่าเป็นตำแหน่งพิเศษ ในสมัยกรุงรัตนโกสินทร์ เป็นตำแหน่งที่พระราชทานแก่พระเถระผู้ทรงคุณทางวิปัสสนาธุระโดยเฉพาะ
 
เมื่อครั้งเกิด[[อหิวาตกโรค]]ระบาดในกรุงเทพฯ เมื่อปี พ.ศ. 2363 มีผู้คนเสียชีวิตมากมาย ประมาณถึง สามหมื่นคนเศษ พระบาทสมเด็จพระพุทธเลิศหล้านภาลัยทรงให้ตั้งพระราชพิธีอาพาธพินาศ โดยพระองค์ทรงศีลและให้ตั้งโรงทาน ส่วนสมเด็จพระสังฆราชทรงให้สังคายนาบทสวดมนต์ในพระราชพิธีดังกล่าว
 
ชาวบ้านทั่วไปมักเรียกพระองค์ว่า "สังฆราชไก่เถื่อน" เพราะร่ำลือกันว่า ทรงช่ำชอง[[วิปัสสนาธุระ]]ถึงขนาดทำให้ไก่เถื่อน[[ไก่ป่า]]เชื่องด้วยอำนาจพรหมวิหารได้<ref>กรมพระยาดำรงราชานุภาพ. (2489). [http://www.thapra.lib.su.ac.th/objects/rarebook/r2929/DS582%E0%B8%9465_2489.pdf ''ความทรงจำ.''] ม.ป.ท. หน้า 43.</ref>
 
== อ้างอิง ==
เส้น 48 ⟶ 50:
{{สมเด็จพระสังฆราชแห่งกรุงรัตนโกสินทร์}}
 
{{เรียงลำดับ|อริยวงษญาณ สมเด็จพระสังฆราช (สุก ญาณสังวร}}
{{ประสูติปี|2276}}{{สิ้นพระชนม์ปี|2365}}
{{อายุขัย|2276|2365}}
 
[[หมวดหมู่:พุทธศาสนิกชนชาวไทยสมเด็จพระสังฆราชแห่งกรุงรัตนโกสินทร์]]
[[หมวดหมู่:เจ้าอาวาสวัดมหาธาตุยุวราชรังสฤษฎิ์ราชวรมหาวิหาร]]
[[หมวดหมู่:สมเด็จพระสังฆราชแห่งกรุงรัตนโกสินทร์|สุก ญาณสังวร]]
[[หมวดหมู่:พระภิกษุในนิกายเถรวาท (มหานิกาย)]]