ผลต่างระหว่างรุ่นของ "อักษรมอญ"

เนื้อหาที่ลบ เนื้อหาที่เพิ่ม
ไทๆ (คุย | ส่วนร่วม)
ย้อนการแก้ไขที่ 6295780 สร้างโดย 182.52.197.192 (พูดคุย)
กล่องข้อมูลจากwiki english และเพื่มอ้างอิง
บรรทัด 1:
{{กล่องข้อมูล ระบบการเขียน
{{อักษรพม่า}}
|name=อักษรมอญ
|altname=
|time=พุทธศตวรรษที่11 (6th century)-ปัจจุบัน
|languages=[[ภาษามอญ]]
|type=[[อักษรสระประกอบ]]
|fam1=[[Proto-Sinaitic script]]
|fam2=[[อักษรฟินิเชีย]]
|fam3=[[อักษรอราเมอิก]]
|fam4=[[อักษรพราหมี]]
|fam5=[[อักษรปัลลวะ]]<ref name=maat-157>Aung-Thwin 2005: 157</ref>
|children=[[อักษรพม่า]]<br>[[อักษรไทใหญ่]]
|unicode = [http://www.unicode.org/charts/PDF/U1000.pdf U+1000–U+109F] {{smaller|Myanmar}}<br />[http://www.unicode.org/charts/PDF/UAA60.pdf U+AA60–U+AA7F] {{smaller|Myanmar Ext-A}}<br />[http://www.unicode.org/charts/PDF/UA9E0.pdf U+A9E0–U+A9FF] {{smaller|Myanmar Ext-B}}
|iso15924=Mymr, 350
|sample=
|note=
}}
 
'''อักษรมอญ''' เป็นตัวอักษรที่พัฒนามาจาก[[อักษรพราหมี]] ผ่านทาง[[อักษรปัลลวะ]] และเป็นแม่แบบของอักษรอื่น เช่น [[อักษรพม่า]] [[อักษรไทย]] [[อักษรลาว]] [[อักษรล้านนา]] [[อักษรไทลื้อ]] และอักษรธรรมที่ใช้เขียนคัมภีร์ใน[[อักษรธรรมล้านนา]]และ[[อักษรธรรมลาว]] อักษรมอญ เป็นอักษรที่มีลักษณะคล้ายคลึงกับอักษรพม่ามาก และสามารถนำไปใช้แทนอักษรพม่าได้ทุกตัว แต่อักษรพม่า ไม่สามารถใช้แทนอักษรมอญได้ทุกตัว เพราะอักษรมอญมีตัวอักษรที่เพิ่มขึ้นมาจากอักษรพม่าปกติ
 
==ประวัติ==
อักษรมอญโบราณพัฒนามาจากอักษรยุคหลังปัลลวะ (พุทธศตวรรษ 13-15) พบจารึกอักษรนี้ในเขต[[หริภุญชัย]] เช่นที่ จารึกแม่หินบดเวียงมโนมะโน <ref>http://www.sac.or.th/databases/inscriptions/inscribe_detail.php?id=551</ref> เวียงเถาะ รูปแบบของอักษรมอญต่างจากอักษรขอมที่พัฒนาจากอักษรในอินเดียใต้รุ่นเดียวกันคือ อักษรมอญตัดบ่าอักษรออกไป ทำให้รูปอักษรค่อนข้างกลม ส่วน[[อักษรขอม]]เปลี่ยนบ่าอักษรเป็นศกหรือหนามเตย
 
อักษรมอญ ที่เก่าแก่ที่สุดนั้น ค้นพบในประเทศไทย หลักฐานที่พบคือ [[ศิลาจารึก|จารึก]]วัดโพธิ์ร้าง พ.ศ. 1143 เป็นอักษรมอญโบราณที่เก่าแก่ที่สุด ในบรรดาจารึกภาษามอญที่ได้ค้นพบ ในแถบ[[เอเชียตะวันออกเฉียงใต้|เอเชียอาคเนย์]]ทั้งหมด ปรากฏ
เป็นจารึกที่เขียนด้วยตัวอักษรปัลลวะ ที่ยังไม่ได้ดัดแปลงให้เป็น อักษรมอญ และได้พบอักษรที่มอญประดิษฐ์เพิ่มขึ้น เพื่อให้พอกับเสียงใน[[ภาษามอญ]] แสดงว่า มอญใช้อักษรปัลลวะในการสื่อสาร อักษรที่ประดิษฐ์เพิ่มนี้ ยังได้พบในจารึกเสาแปดเหลี่ยมที่ศาลสูง เมืองลพบุรี ข้อความที่จารึกเกี่ยวกับ[[พระพุทธศาสนา]] สันนิษฐานว่า จารึกใน[[พุทธศตวรรษที่ 13]] ราว พ.ศ. 1314 อักษรจารึกในศิลาหลักนี้ เรียกว่า ตัวอักษรหลังปัลลวะ
 
อักษรมอญ ที่เก่าแก่ที่สุดนั้น ค้นพบในประเทศไทย หลักฐานที่พบคือ [[ศิลาจารึก|จารึก]]วัดโพธิ์ร้าง อายุราวพุทธศตวรรษที่12 เป็นอักษรมอญโบราณที่เก่าแก่ที่สุด ในบรรดาจารึกภาษามอญที่ได้ค้นพบ ในแถบ[[เอเชียตะวันออกเฉียงใต้|เอเชียอาคเนย์]]ทั้งหมด ปรากฏเป็นจารึกที่เขียนด้วยตัวอักษรปัลลวะ ที่ยังไม่ได้ดัดแปลงให้เป็น อักษรมอญ และได้พบอักษรที่มอญประดิษฐ์เพิ่มขึ้น เพื่อให้พอกับเสียงใน[[ภาษามอญ]] แสดงว่า มอญใช้อักษรปัลลวะในการสื่อสาร<ref>http://www.sac.or.th/databases/inscriptions/inscribe_detail.php?id=271</ref> อักษรที่ประดิษฐ์เพิ่มนี้ ยังได้พบในจารึกเสาแปดเหลี่ยมที่ศาลสูง เมืองลพบุรี ข้อความที่จารึกเกี่ยวกับ[[พระพุทธศาสนา]] สันนิษฐานว่า จารึกใน[[ราวพุทธศตวรรษที่ 13]] ราว พ.ศ. 131414-15 อักษรจารึกในศิลาหลักนี้ เรียกว่า ตัวอักษรหลังปัลลวะ<ref>http://www.sac.or.th/databases/inscriptions/inscribe_detail.php?id=921</ref>
{{อักษรพม่า}}
=====สมัยกลาง =====
# จารึกในประเทศพม่าภาคเหนือ ส่วนมากได้จากเมืองพะขัน และเมืองแปร [[ศิลาจารึก]]เหล่านี้ สร้างขึ้นในรัชสมัยของ[[พระเจ้าอโนรธา]] กษัตริย์พุกามประมาณ พ.ศ. 1600 เป็นต้นมา พม่ารับอักษรมอญมาใช้เขียนภาษาพม่าเป็นครั้งแรก
เส้น 29 ⟶ 45:
 
== อ้างอิง ==
{{รายการอ้างอิง}}
* [http://www.monstudies.com/show_content.php?topic_id=68&main_menu_id=3 อักษรมอญ]
* พจนานุกรมมอญ-ไทย ฉบับมอญสยาม. ศิลปวัฒนธรรม. 2548
* สุจิตต์ วงษ์เทศ. อักษรไทย มาจากไหน. มติชน. 2548
เส้น 37 ⟶ 53:
* [http://www.youtube.com/watch?v=KG8kfSrJyks&list=PLKBKvKyx9n_uqUazoKB6vI3wGZ_bjjR5Y Easy Learning Mon]
* [http://www.ethnologue.com/show_language.asp?code=mnw Ethnologue เกี่ยวกับภาษามอญ]
* [http://www.monstudies.com/show_content.php?topic_id=158&main_menu_id=3 ภาษามอญ]
 
{{อักษรพราหมี}}
[[หมวดหมู่:อักษร|มอญ]]
[[หมวดหมู่:อักษรในตระกูลอักษรพราหมี]]
[[หมวดหมู่:ประวัติศาสตร์มอญ]]