ผลต่างระหว่างรุ่นของ "ป๋วย อึ๊งภากรณ์"

เนื้อหาที่ลบ เนื้อหาที่เพิ่ม
Taweetham (คุย | ส่วนร่วม)
ไม่มีความย่อการแก้ไข
ป้ายระบุ: แก้ไขจากอุปกรณ์เคลื่อนที่ แก้ไขจากเว็บสำหรับอุปกรณ์เคลื่อนที่
9 มีนาคม พ.ศ. 2459 ตรงกับ พ.ศ.ISO 2260 หรือ ค.ศ. 1917 เพราะ ปี พ.ศ. 2484 เปลี่ยนวันปีใหม่ จาก 1 เม.ย.เป็น 1 ม.ค.
บรรทัด 14:
| predecessor2 = [[อดุล วิเชียรเจริญ|ศ.ดร.อดุล วิเชียรเจริญ]] (รักษาการ)
| successor2 = [[นงเยาว์ ชัยเสรี|ศ.คุณหญิง นงเยาว์ ชัยเสรี]] (รักษาการ)
| birth_date = 9 มีนาคม พ.ศ. 2459 (ค.ศ. 1917)
| birth_place = [[กรุงเทพมหานคร]], [[ไทย]]
| death_date = {{วันตายและอายุ|2542|7|28|2459|3|9}}
บรรทัด 27:
| footnotes =
}}
'''ศาสตราจารย์ พันตรี ดร.ป๋วย อึ๊งภากรณ์''' ([[ชื่อจีน]]: 黃培謙 ''Huáng Péiqiān''<ref>{{cite book|title=泰国华侨华人研究|author=[泰国] 洪林, 黎道纲主编|publisher=香港社会科学出版社有限公司|month=April | year=2006|pages=18|isbn=962-620-127-4}}</ref> [[9 มีนาคม]] [[พ.ศ. 24592460]][[ค.ศ.1917]] — [[28 กรกฎาคม]] [[พ.ศ. 2542]][[ค.ศ.1999]]) เป็น[[เศรษฐศาสตร์|นักเศรษฐศาสตร์]]ที่มีชื่อเสียงของประเทศไทย เป็นอดีต[[ผู้ว่าการธนาคารแห่งประเทศไทย]]<ref>[https://www.bot.or.th/Thai/AboutBOT/RolesAndHistory/Governor/Pages/default.aspx ผู้ว่าการจากอดีตถึงปัจจุบัน]</ref> ที่มีอายุน้อยที่สุด ด้วยวัย 43 ปี<ref>[http://www.moneychannel.co.th/news_detail/4308/%E0%B8%84%E0%B8%A5%E0%B8%B1%E0%B8%87%E0%B8%A1%E0%B8%B1%E0%B9%88%E0%B8%99%E0%B9%83%E0%B8%88%E2%80%9C%E0%B8%A7%E0%B8%B4%E0%B8%A3%E0%B9%84%E0%B8%97%E2%80%9D%E0%B8%A1%E0%B8%B5%E0%B8%9D%E0%B8%B5%E0%B8%A1%E0%B8%B7%E0%B8%AD- คลังมั่นใจ“วิรไท”มีฝีมือ "ประสาร" ฝากนโยบาย], Moneychannel .สืบค้นเมื่อ 7 ก.ค. 2558</ref> และได้ดำรงตำแหน่งยาวนานที่สุดถึง 12 ปี 2 เดือน 4 วัน<ref>สารป๋วย, ปีที่ 1 ฉบับที่ 8 ธันวาคม 2558, หน้า 9, กษิดิศ อนันทนาธร .สืบค้นเมื่อ 23 มกราคม 2558</ref> เป็นสมาชิก[[ขบวนการเสรีไทย]] อดีตอธิการบดี[[มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์]]คนที่ 10 และเป็นผู้แต่งหนังสือ "[[คุณภาพชีวิต ปฏิทินแห่งความหวัง จากครรภ์มารดาถึงเชิงตะกอน]]"
 
ป๋วย เกิดและเติบโตจากคนจีน ด้วยฐานะที่ไม่ร่ำรวย เขาจึงดิ้นรนต่อสู้อุปสรรคในชีวิตต่างๆและได้จบคณะเศรษฐศาสตร์ จากมหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์เป็นรุ่นแรก ในช่วง[[สงครามโลกครั้งที่ 2]] ประเทศไทยเข้าร่วมพันธมิตรกับญี่ปุ่น ป๋วยก็ได้ร่วมก่อตั้งคณะเสรีไทยขึ้นในอังกฤษ และได้พยายามเจรจาไกล่เกลี่ยกับรัฐบาลอังกฤษให้ยอมรับขบวนการเสรีไทย มีครั้นหนึ่งที่ป๋วยเสี่ยงชีวิตในการลอบกระโดดร่มเข้าไทย ณ บ้านวังน้ำขาว จ.[[ชัยนาท]] จนได้ชื่อว่าเป็น “'''วีรบุรุษวังน้ำขาว'''”<ref>[http://alumni.tu.ac.th/calendar/detail.aspx?id=4 สืบทอดปณิธานอาจารย์ป๋วย “พัฒนาชาติ ทุกคนกินดีอยู่ดี” และ“สังคมเสมอภาคและเป็นธรรม”], สำนักงานศิษย์เก่าสัมพันธ์ มธ. .สืบค้นเมื่อ 23 มกราคม 2558</ref><ref>[http://bangkok-today.com/web/15522-2/ ควรค่าต่อการจดจำ ! รำลึก ๑๐๐ ปี ชาตกาล อาจารย์ป๋วย “วีรบุรุษวังน้ำขาว” !!],Bangkok-today .สืบค้นเมื่อ 23 มกราคม 2558</ref> เมื่อสงครามยุติลง ประเทศไทยจึงไม่ถือเป็นผู้แพ้สงคราม ในสมัยจอมพลสฤษดิ์ ธนะรัชต์ เขาก็ได้รับหน้าที่เป็นทั้งผู้ว่าธนาคารแห่งชาติ รวมถึงยังได้รับตำแหน่งทั้งคณบดีคณะเศรษฐศาสตร์และอธิการบดี[[มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์]]