ผลต่างระหว่างรุ่นของ "เครื่องสำรองไฟฟ้าและปรับแรงดันไฟฟ้าอัตโนมัติ"

เนื้อหาที่ลบ เนื้อหาที่เพิ่ม
Sudtielove (คุย | ส่วนร่วม)
BotKung (คุย | ส่วนร่วม)
เก็บกวาดบทความด้วยบอต
บรรทัด 1:
{{ลิงก์ไปภาษาอื่น}}
[[ไฟล์:500kVA-UPS.jpg|right|thumb|เครื่องสำรองไฟฟ้าและปรับแรงดันไฟฟ้าอัตโนมัติกำลังถูกติดตั้งโดย ช่างไฟฟ้า]]
'''เครื่องสำรองไฟฟ้าและปรับแรงดันไฟฟ้าอัตโนมัติ '''เรียกอีกอย่างนึงว่า '''ระบบกําลังกำลังไฟฟ้าต่อเนื่อง '''({{lang-en|uninterruptible power supply}}) หรือ '''ยูพีเอส''' (UPS) คือ เครื่องมือทางไฟฟ้าที่ให้พลังงานฉุกเฉินกับเครื่องมือรับพลังงานไฟฟ้าเมื่อ[[:en:Mains_electricity|พลักงานหลัก]]ไม่สามารถใช้การได้ ยูพีเอสแตกต่างกับ[[:en:Emergency_power_system|ระบบพลังงานสำรอง]] หรือ [[:en:Standby_generator|เครื่องกำเนิดไฟฟ้ากำลังสำรอง]] ตรงความสามารถในการให้การป้องกันจากการขัดข้องของกำลังไฟฟ้าเข้าแทบจะทันที โดยการให้พลังงานจากแบตเตอรี่ [[ตัวเก็บประจุยิ่งยวด]] หรือ [[ล้อตุนกำลัง]] เทียบกับแบตเตอรี่แบบอื่น แบตเตอรี่ของยูพีเอสส่วนใหญ่นั้นอยู่ได้ไม่นาน (ไม่กี่นาที) ทว่าเพียงพอที่จะให้แหล่งพลังงานสำรองเริ่มทำงานหรือปิดเครื่องที่เราต้องการจะป้องกันเท่านั้น
 
โดยปกติแล้ว ยูพีเอสจะใช้รองรับการจ่ายพลังงานให้กับฮาร์ดแวร์ เช่น [[คอมพิวเตอร์]] [[ศูนย์ข้อมูล]] อุปกรณ์ทาง[[โทรคมนาคม]] หรือ อุปกรณ์ไฟฟ้าอื่นๆ ซึ่งการทิ้งช่วงของพลังงานอย่างฉับพลันอาจก่อให้เกิดการเสียหายทางธุรกิจ หรือ การข้อมูล ขนาดหน่วยของยูพีเอสมีตั้งแต่ที่ออกแบบมาให้ปกป้องคอมพิวเตอร์ตัวเดียว ไปจนถึง การให้พลังงานศูนย์เก็บข้อมูลขนาดใหญ่หรือตึกทั้งตึก ยูพีเอสที่ใหญ่ที่สุดในโลก คือ 46-megawatt Battery Electric Storage System (BESS) ใน[[:en:Fairbanks,_Alaska|แฟร์แบงค์ส์ รัฐอลาสก้า]] ซึ่งให้พลังงานทั้งนครและชุมชนชนบทใกล้เคียงได้ระหว่างไฟฟ้าดับ<ref><cite class="citation web" contenteditable="false">[http://www.eia.gov/todayinenergy/detail.cfm?id=6910#tabs_ElecStorage-5 "Electricity storage: Location, location, location … and cost - Battery storage for transmission support in Alaska"]. ''eia.gov''. </cite></ref>
เส้น 14 ⟶ 15:
 
== เทคโนโลยี ==
ระบบยูพีเอสสามแบบหลักในปัจจุบันได้แก่ ''ออนไลน์ ไลน์อินเตอร์แรคทีฟ ''และ'' สแตนด์บาย'' <ref><cite class="citation" id="CITEREFSolter2002" contenteditable="false">Solter, W. (2002), ''A new international UPS classification by IEC 62040-3'', [[ตัวระบุวัตถุดิจิทัล|doi]]:[[doi:10.1109/INTLEC.2002.1048709|10.1109/INTLEC.2002.1048709]]</cite><cite class="citation" id="CITEREFSolter2002" contenteditable="false"></cite><span class="Z3988" title="ctx_ver=Z39.88-2004&rfr_id=info%3Asid%2Fen.wikipedia.org%3AUninterruptible+power+supply&rft.aufirst=W.&rft.aulast=Solter&rft.btitle=A+new+international+UPS+classification+by+IEC+62040-3&rft.date=2002&rft.genre=book&rft_id=info%3Adoi%2F10.1109%2FINTLEC.2002.1048709&rft_val_fmt=info%3Aofi%2Ffmt%3Akev%3Amtx%3Abook" contenteditable="false">&nbsp;</span></ref><ref>Detailed explanation of UPS topologies <cite class="citation web" contenteditable="false">[http://www.emersonnetworkpower.com/en-US/Brands/Liebert/Documents/White%20Papers/High-Availability%20Power%20Systems,%20Part%20I_UPS%20Internal%20Topology.pdf "High-Availability Power Systems, Part I: UPS Internal Topology"] (PDF). </cite></ref> ออนไลน์ยูพีเอสใช้วิธี "เปลี่ยนแปลงสองครั้ง" สำหรับการรับไฟกระแสสลับขาเข้า [[ตัวเรียงกระแส|เรียงกระแส]]ไปเป็นกระแสตรงเพื่อผ่านไปยัง[[:en:Rechargeable_battery|ถ่านชาร์จ]] จากนั้นจึงเปลี่ยนกลับเป็นกระแสสลับ 120&nbsp;V/230&nbsp;V AC เพื่อให้พลังงานต่ออุปกรณ์ที่่ที่ต้องการจะปกป้อง ไลน์อินเตอร์แรคทีฟยูพีเอสรักษาอินเวอร์เตอร์ในเส้น และย้ายทางเดินกระแสตรงของถ่านจากวิธีการชาร์จธรรมดาไปเป็นการสำรองกระแสไว้เวลาพลังงานขาดไป ในส่วนของระบบสแตนด์บาย ("ออฟไลน์") เครื่องมือนั้นถูกให้พลังงานโดยตรงจากกำลังงานขาเข้า และพลังงานสำรองจะถูกใช้งานในเวลาที่พลังงานหลักไม่อยู่ในสภาวะที่เหมาะสม ยูพีเอสส่วนใหญ่ที่ความจุต่ำกว่า 1 kVA นั้นเป็นแบบไลน์อินเตอร์แรคทีฟ หรือ สแตนด์บายซึ่งมีราคาถูกกว่า
 
สำหรับแหล่งพลังงานขนาดใหญ่บางครั้งจะใช้ เครื่องสำรองไฟฟ้าและปรับแรงดันไฟฟ้าอัตโนมัติแบบพลวัต (Dynamic Uninterruptible Power Supplies หรือ DUPS) พลังงานถูกเก็บไว้ใน[[ล้อตุนกำลัง]] เมื่อแหล่งพลังงานหลักไม่สามมารถใช้งานได้ ข้อบังคับกระแสไหลวนรักษาพลังงานไว้ในเครื่องมือรับพลังงานไฟฟ้าขณะที่ล้อตุนกำลังยังมีพลังงานอยู่