ผลต่างระหว่างรุ่นของ "ภาษาเอสเปรันโต"

เนื้อหาที่ลบ เนื้อหาที่เพิ่ม
Warut92 (คุย | ส่วนร่วม)
ไม่มีความย่อการแก้ไข
Warut92 (คุย | ส่วนร่วม)
ไม่มีความย่อการแก้ไข
บรรทัด 25:
 
นักวิจัยหลายท่านได้ศึกษาว่าการเรียนรู้ภาษาเอสเปรันโต ช่วยให้ผู้ที่ใช้ภาษาใน[[ภาษากลุ่มอินโดยูโรเปียน]] (เช่น ภาษาอังกฤษ ภาษาเยอรมัน) เรียนภาษาอื่นๆ ได้ง่ายยิ่งขึ้น อาจเนื่องมาจาก รูปแบบของภาษา ไวยากรณ์ และคำศัพท์ต่างๆ <ref>Williams, N. (1965) 'A language teaching experiment', Canadian Modern Language Review 22.1: 26-28</ref> การวิจัยพบว่า เปรียบเทียบกลุ่มนักเรียน 2 กลุ่ม โดย กลุ่มแรก เรียนภาษาเอสเปรันโต 1 ปี และภาษาฝรั่งเศส 3 ปี กับกลุ่มที่สอง เรียนภาษาฝรั่งเศส 4 ปี ผลออกมาว่า กลุ่มแรกสามารถใช้ภาษาฝรั่งเศสได้ดีกว่ากลุ่มที่สอง ที่เรียนภาษาฝรั่งเศสมากกว่าหนึ่งปี
 
== ภาษาเอสเปรันโตในประเทศไทย ==
พ.ศ.'''2479'''  Kiu Gi (ผู้พูดภาษาเอสเปรันโตชาวจีน) ได้เดินทางมาประเทศไทย ได้กล่าวว่าขณะนั้นที่ประเทศไทยได้มีจัดตั้งสมาคมเอสเปรันโตแห่งประเทศไทยขึ้น และได้ตีพิมพ์นิตยสารภาษาเอสเปรันโตในชื่อ "Orienta Raporto"
 
พ.ศ.'''2480''' มีการตีพิมพ์หนังสือนำเสนอภาษาเอสเปรันโตในภาษาไทย ชื่อว่า '''ESPERANTO? ภาษาโลกคืออะไร?''' โดย Lu Bi โรงพิมพ์กิมหลีหงวน
 
พ.ศ.'''2523''' เปรม กุเลเมฆิน (ถอดจาก Prem Kulemekin) ได้ตั้งสถาบันภาษาเอสเปรันโตแห่งประเทศไทย (Tajlanda Esperanto-Instituto) โดยจัดการเรียนภาษาเอสเปรันโตทางไปรษณีย์<ref><nowiki>http://www.eventoj.hu/arkivo/eve-221.htm</nowiki></ref>
 
'''พ.ศ.2555''' เดือนกุมภาพันธ์ ได้มีการตีพิมพ์และการจำหน่ายตำราเรียนภาษาเอสเปรันโตที่ชื่อว่า "เอสเปรันโตโดยวิธีตรง" (Esperanto per rekta metodo) &nbsp;&nbsp; ต้นฉบับของเรื่องนี้ถูกแปลจากภาษาเอสเปรันโตเป็นภาษาอื่น ๆ มากมาย ซึ่งภาษาไทยเป็นภาษาที่ 31 ผู้แต่งชื่อ สตาโน มาเช็ค (Stano Marček) หนังสือเรื่องนี้เป็นตำราเรียนภาษาเอสเปรันโตฉบับภาษาไทยเล่มแรก
 
== ตัวอักษร ==