ผลต่างระหว่างรุ่นของ "วัดพระสิงห์วรมหาวิหาร"

เนื้อหาที่ลบ เนื้อหาที่เพิ่ม
แก้ไขเพิ่มเติม
ป้ายระบุ: การแก้ไขแบบเห็นภาพ แก้ไขจากอุปกรณ์เคลื่อนที่ แก้ไขจากเว็บสำหรับอุปกรณ์เคลื่อนที่
แก้ไขเพิ่มเติม
ป้ายระบุ: การแก้ไขแบบเห็นภาพ แก้ไขจากอุปกรณ์เคลื่อนที่ แก้ไขจากเว็บสำหรับอุปกรณ์เคลื่อนที่
บรรทัด 33:
| footnote =
}}
'''วัดพระสิงห์วรมหาวิหาร''' ({{lang-nod|[[ไฟล์:LN-Wat Phrasing Woravihar.png|100px]]}}) [[พระอารามหลวง]]ชั้นเอก ชนิดวรมหาวิหาร ตั้งอยู่ในบริเวณคูเมืองเชียงใหม่ด้านในทางทิศตะวันตกหันหน้าไปทางทิศตะวันออก บนถนนสามล้าน ตำบลพระสิงห์ [[อำเภอเมืองเชียงใหม่|อำเภอเมือง]] [[จังหวัดเชียงใหม่]] วัดพระสิงห์ฯ เป็นวัดสำคัญอีกวัดหนึ่งของจังหวัด[[เชียงใหม่]] เป็นวัดที่ประดิษฐานพระสิงห์ ([[พระพุทธสิหิงค์]]) [[พระพุทธรูป]] เก่าแก่ศักดิ์สิทธิ์คู่บ้านคู่เมืองเชียงใหม่และแผ่นดิน[[ล้านนา]] พระพุทธรูป [[ศิลปะเชียงแสน]] ซึ่งคนไทยรู้จักกันดีในชื่อ "เชียงแสนสิงห์หนึ่ง"ซึ่งในช่วงวันที่ 13 - 15 เมษายน ของทุกปี จะมีพิธีอาราธนาอัญเชิญพระสิงห์ (องค์จริง) ออกจากวิหารลายคำ เพื่ออัญเชิญขึ้นรถบุษบกแบบล้านนา ร่วมในขบวนแห่งพระสิงห์ และพระพุทธรูปศักดิ์สิทธิ์คู่บ้านคู่เมืองเชียงใหม่ อีกหลายองค์ แห่รอบเมืองเชียงใหม่เพื่อให้ประชาชนทั่วไปได้สักการะและสรงน้ำเนื่องในเทศกาลประเพณี ปี๋ใหม่เมือง หรือสงกรานต์ ซึ่งถือว่าเป็นงานประเพณีที่ยิ่งใหญ่ ของจังหวัดเชียงใหม่อีกงานหนึ่ง โดยจะมีขบวนแห่ที่งดงามยิ่งใหญ่ ในช่วงบ่ายของวันที่ 13 เมษายนของทุกปี จากนั้นจะอัญเชิญพระสิงห์ขึ้นประดิษฐาน ณ บุษบก บนลานหน้าวัดพระสิงห์ฯ เพื่อให้ประชาชนทั่วไปได้สักการะและสรงน้ำขอพรวันสงกรานต์ จนถึงวันที่ 15 เมษายน และในช่วงเช้าวันที่ 16 เมษายนจะมีพิธีอาราธนาอัญเชิญพระสิงห์ กลับขึ้นประดิษฐาน บนวิหารลายคำเช่นเดิม นอกจากนี้ในวัดพระสิงห์ฯยังมีพระธาตุเจดีย์ช้างล้อมวัดพระสิงห์ ที่ประดิษฐานพระบรมสารีริกธาตุของ องค์สมเด็จพระสัมมาสัพพุทธเจ้าและยังเป็นพระธาตุเจดีย์ประจำปีเกิด ของผู้ที่เกิด ปีมะโรง ซึ่งปัจจุบันเจ้าอาวาสวัดพระสิงห์ฯและศรัทธาประชาชน ได้ดำเนินการขออนุญาตจากกรมศิลปกร เพื่อทำการปิดทองจังโก พระธาตุเจดีย์ช้างล้อมวัดพระสิงห์และพระธาตุบริวารให้เหลืองอร่าม เพื่อบูรณะปฎิสังขร และเพื่อทำนุบำรุงพระพุทธศาสนาให้เจริญรุ่งเรืองสถาพรต่อไป และเป็นประจำทุกปีในวันที่ 1 มกราคม และ 15 เมษายน วัดพระสิงห์ฯจะจัดพิธีสักการะสรงน้ำและห่มผ้าพระธาตุเจดีย์ช้างล้อมวัดพระสิงห์ขึ้นในช่วงบ่าย ซึ่งถือว่าเป็นงานบุญประเพณีที่ยิ่งใหญ่ อีกงานหนึ่งของจังหวัดเชียงใหม่ โดยจัดพิธีแบบล้านนา นอกจากนี้ภายในวัดพระสิงห์ฯ ยังมีพระพุทธรูปศักดิ์สิทธิ์อีกองค์หนึ่งคือ พระเจ้าทองทิพย์ ซึ่งเป็นพระพุทธรูปที่หล่อด้วยทองคำแท้บริสุทธิ์ ไว้เป็นอนุสรณ์เมื่อการทำสังคายนาพระไตรปิฏกครั้งที่ 8 ของโลก ณ วัดเจ็ดยอด เมื่อปี พ.ศ.2020 สมัยอาณาจักรล้านนา จากนั้นจึงอัญเชิญมาประดิษฐานที่วัดพระสิงห์ฯแห่งนี้ด้วย ซึ่งถือว่าเป็นพระพุทธรูปศักดิ์สิทธิ์ คู่บ้านคู่เมืองเชียงใหม่อีกองค์หนึ่ง ตามประวัติพระเจ้าทองทิพย์แสดงปาฎิหารย์ เมื่อครั้งกุฎิเจ้าอาวาสวัดพระสิงห์ฯ หลังเก่าถูกเพลิงไหม้วอดเกือบทั้งหลัง ทุกอย่างถูกเพลิงเผาผลาญจนเหลือแต่ซาก แต่ปรากฎว่า พระเจ้าทองทิพย์องค์เดียว ที่เพลิงไม่อาจต้องพระวรกายเลยแม้แต่น้อย ซึ่งชาวเชียงใหม่ศรัทธาและเคารพสักการะอย่างยิ่ง มาจนถึงปัจจุบัน วัดพระสิงห์วรมหาวิหารถือได้ว่าเป็นวัดหลวงประจำนครเชียงใหม่ และอาณาล้านนาในอดีต ที่พระมหากษัตริย์เป็นผู้สร้างและทำนุบำรุงมาโดยตลอดตามลำดับ จนถึงสมัยปัจจุบันพระบาทสมเด็จพระเจ้าอยู่หัวฯ และสมเด็จพระนางเจ้าฯพระบรมราชินีนาถ ตลอดจนพระบรมวงศานุวงค์ทุกพระองค์ ก็ทรงเสด็จมาสักการะพระสิงห์และพระธาตุเจดีย์ รวมถึงได้ทรงเสด็จมาประกอบพระราชพิธีต่างๆอยู่หลายคราวด้วยกัน อีกทั้งพระราชวงค์ทุกพระองค์ยังทรงทำนุบำรุงวัดพระสิงห์ฯมาโดยลำดับตลอดจนถึงปัจจุบัน
 
== ประวัติ ==