ผลต่างระหว่างรุ่นของ "คลื่นความโน้มถ่วง"

เนื้อหาที่ลบ เนื้อหาที่เพิ่ม
Tinuviel (คุย | ส่วนร่วม)
ไม่มีความย่อการแก้ไข
Tinuviel (คุย | ส่วนร่วม)
ไม่มีความย่อการแก้ไข
บรรทัด 4:
 
== บทนำ ==
[[ไฟล์:History of the Universe.svg|thumb|left|300px|ประวัติศาสตร์ของ[[เอกภพ]] มีการตั้งสมมุติฐานว่าคลื่นความโน้มถ่วงเกิดจากการขยายตัวของจักรวาล (inflation) การขยายเร็วกว่าแสงพลันหลัง[[บิกแบง]] (17 มีนาคม 2014)<ref name="BICEP2-2014">{{cite web |authors=Staff |title=BICEP2 2014 Results Release |url=http://bicepkeck.org |date=17 March 2014 |work=[[National Science Foundation]] |accessdate=18 March 2014}}</ref><ref name="NASA-20140317">{{cite web |last=Clavin |first=Whitney |title=NASA Technology Views Birth of the Universe |url=http://www.jpl.nasa.gov/news/news.php?release=2014-082 |date=17 March 2014 |work=[[NASA]] |accessdate=17 March 2014}}</ref><ref name="NYT-20140317">{{cite news |last=Overbye |first=Dennis |authorlink=Dennis Overbye |title=Detection of Waves in Space Buttresses Landmark Theory of Big Bang |url=http://www.nytimes.com/2014/03/18/science/space/detection-of-waves-in-space-buttresses-landmark-theory-of-big-bang.html |date=17 March 2014 |work=[[New York Times]] |accessdate=17 March 2014}}</ref>]]
ใน[[ทฤษฎีสัมพัทธภาพทั่วไป]]ของไอน์สไตน์ ความโน้มถ่วงจัดเป็นปรากฏการณ์อันเกิดจากความโค้งของ[[ปริภูมิ-เวลา]] ความโค้งนี้เกิดจากการมี[[มวล]] โดยทั่วไป ยิ่งมีมวลบรรจุอยู่ในปริภูมิปริมาตรหนึ่งมากเท่าใด ความโค้งของปริภูมิ-เวลาจะยิ่งมากเท่านั้นที่ขอบของปริมาตรนี้<ref name=HTUW/> เมื่อวัตถุที่มีมวลเคลื่อนไปรอบในปริภูมิ-เวลา ความโค้งดังกล่าวจะเปลี่ยนเพื่อสะท้อนตำแหน่งที่เปลี่ยนของวัตถุเหล่านี้ ในบางกรณีแวดล้อม วัตถุที่มีความเร่งทำให้เกิดการเปลี่ยนความโค้งนี้ ซึ่งแผ่ออกนอกด้วย[[ความเร็วแสง]]ในรูปคล้ายคลื่น ปรากฏการณ์แผ่เหล่านี้เรียก "คลื่นความโน้มถ่วง"