ผลต่างระหว่างรุ่นของ "ฟิสิกส์โอลิมปิกระหว่างประเทศ"

เนื้อหาที่ลบ เนื้อหาที่เพิ่ม
SARANPHONG YIMKLAN (คุย | ส่วนร่วม)
SARANPHONG YIMKLAN ย้ายหน้า ฟิสิกส์โอลิมปิก ไปยัง ฟิสิกส์โอลิมปิกระหว่างประเทศ: แยกความแตกต่างกับ...
Korrawatp (คุย | ส่วนร่วม)
แก้สะกดคำ เว้นวรรค ฯลฯ
บรรทัด 4:
'''การแข่งขันฟิสิกส์โอลิมปิกระหว่างประเทศ''' ({{lang-en|International Physics Olympiad - IPhO}}) เป็นการแข่งขันเกี่ยวกับวิชาฟิสิกส์ประจำปี เป็นหนึ่งในการแข่งขันโอลิมปิกวิชาการสำหรับนักเรียนมัธยมศึกษา
 
ผู้เข้าแข่งขันแบ่งเป็นทีมตามประเทศ ประเทศละไม่เกินห้า 5 คน การแข่งขันจะเป็นการแข่งขันประเภทบุคคล การคัดเลือกนักเรียนจากประเทศไทยไปแข่งขันนั้นทำโดยคณะอนุกรรมการดำเนินการจัดส่งผู้แทนประเทศไทยไปแข่งขันฟิสิกส์โอลิมปิกระหว่างประเทศที่นายกสมาคมฟิสิกส์แห่งประเทศไทยเสนอให้ [[สสวท.]] แต่งตั้ง คณะอนุกรรมการฯจะจัดสอบแข่งขันเป็นรอบ ๆ นำมาเข้าค่ายติวโดยอาจารย์ที่คณะอนุกรรมการฯเสนอ และสอบแข่งขันเป็นรอบ ๆ จนเหลือแปดคนสุดท้าย เพื่อนำไปแข่งขัน [[ฟิสิกส์โอลิมปิกระดับทวีปเอเชีย]] (APhO) ประมาณเดือนเมษายน และหลังจากนั้นจะคัดเหลือ 5 คนเพื่อนำไปแข่งขัน International Physics Olympiad ประมาณเดือนกรกฎาคม
 
การแข่งขันประกอบด้วยภาคทฤษฏีทฤษฎีและภาคปฏิบัติ โดยภาคทฤษฏีจะมีเวลาให้ห้า 5 ชั่วโมงในการทำข้อสอบ 3 ข้อใหญ่ โดยอาจแบ่งเป็นข้อย่อยๆ อีกได้ ส่วนภาคปฏิบัตินั้นผู้แข่งขันจะต้องออกแบบการทดลอง ทำการทดลองด้วยอุปกรณ์ที่กำหนดให้มา บันทึกผลการทดลอง และวิเคราะห์ผลการทดลองเพื่อตอบคำถามในข้อสอบภายในเวลาห้าชั่วโมงเช่นเดียวกัน สัดส่วนคะแนนระหว่างภาคทฤษฎีและปฏิบัติคือ 30:20
 
นักเรียนที่สนใจเป็นตัวแทนประเทศไทยสามารถดูข้อสอบคัดเลือกเก่า ๆเก่าๆ รวมทั้งข้อสอบแข่งขัน ฝึกทำโจทย์ปัญหา และคุยปรึกษากับผู้แทนนักเรียนฟิสิกส์โอลิมปิกประเทศไทยได้[http://mpec.sc.mahidol.ac.th/forums/ ที่นี่]
== รางวัลที่ประเทศไทยได้รับ ==
<TABLE border="0" cellspacing="2" cellpadding="0" width="740">