ผลต่างระหว่างรุ่นของ "ตัวหน่วงนิวตรอน"

เนื้อหาที่ลบ เนื้อหาที่เพิ่ม
Roonie.02 (คุย | ส่วนร่วม)
BotKung (คุย | ส่วนร่วม)
เก็บกวาดบทความด้วยบอต
บรรทัด 44:
ถ้ากำหนดให้เป็นคณิตศาสตร์ของการชนแบบยืดหยุ่น เนื่องจากนิวตรอนมีน้ำหนักเบามากเมื่อเทียบกับนิวเคลียสส่วนใหญ่ วิธีที่มีประสิทธิภาพมากที่สุดในการกำจัดพลังงานจลน์ออกจากนิวตรอนก็คือโดยการเลือกนิวเคลียสหน่วงที่มีมวลใกล้เคียงกัน
 
[[Imageไฟล์:Elastischer stoß.gif|frame|center|การปะทะกันแบบยืดหยุ่นของมวลที่เท่ากัน]]
 
การชนของนิวตรอนตัวหนึ่งที่มีมวล = 1 กับนิวเคลียส <sup>1</sup>H (โปรตอน) อาจทำให้นิวตรอนสูญเสียเกือบทั้งหมดของพลังงานในการประสานงาเพียงครั้งเดียว โดยทั่วไปอย่างมาก มันจำเป็นต้องคำนึงถึงทั้งการชนแบบเฉียงและการชนแบบประสานงา ''การลดลงแบบลอการิทึมเฉลี่ยของพลังงานนิวตรอนต่อการชนกันหนึ่งครั้ง'' <math>\xi</math> ขึ้นอยู่กับมวลของอะตอม <math>A</math> ของนิวเคลียสเท่านั้นและจะถูกกำหนดโดย:
บรรทัด 66:
:<math> n=\frac{1}{\xi}(\ln E_0-\ln E_1)</math>.<ref>Dobrzynski, L.; K. Blinowski (1994). Neutrons and Solid State Physics. Ellis Horwood Limited. ISBN 0-13-617192-3</ref>
 
[[Imageไฟล์:Translational motion.gif|frame|right|ในระบบที่อยู่ในความสมดุลย์ความร้อนสมดุลความร้อน นิวตรอน (สีแดง) ถูก[[การหักเหนิวตรอน|กระเจิงแบบยืดหยุ่น]]โดยตัวหน่วงแบบสมมุติของนิวเคลียสไฮโดรเจนอิสระ (สีน้ำเงิน) เป็นการประสบกับการเคลื่อนที่ที่กระตุ้นด้วยความร้อน พลังงานจลน์จะถูกเคลื่อนย้ายไประหว่างอนุภาคด้วยกัน เนื่องจากนิวตรอนมีมวลเท่ากับโปรตอนและไม่มีการดูดซับ การกระจายความเร็วของทั้งสองชนิดของอนุภาคจะถูกอธิบายไว้อย่างดีโดย[[การกระจายแบบแมกส์เวลล์-โบลส์แมนน์]]]]
 
=== ตัวเลือกสำหรับวัสดุตัวหน่วง ===