ผลต่างระหว่างรุ่นของ "อักษรธรรมล้านนา"

เนื้อหาที่ลบ เนื้อหาที่เพิ่ม
PananP (คุย | ส่วนร่วม)
ไม่มีความย่อการแก้ไข
Redmarkerkooner (คุย | ส่วนร่วม)
ไม่มีความย่อการแก้ไข
บรรทัด 1:
{{Infobox Writing system
|name= ธรรมล้านนา
|time = ประมาณ ค.ศ. 1300 – ปัจจุบัน
|languages=[[ภาษาไทยถิ่นเหนือ|ไทยถิ่นเหนือ]], [[ภาษาไทลื้อ|ไทลื้อ]], [[ภาษาเขิน|เขิน]]
บรรทัด 14:
|imagesize = 130px
}}
[[ไฟล์:Lanna cm2.jpg|thumb|250px|ป้ายชื่อวัดหม้อคำตวง ตำบลศรีภูมิ [[อำเภอเมืองเชียงใหม่]] [[จังหวัดเชียงใหม่]] เขียนด้วยอักษรธรรมล้านนา<br />'''ถอดเป็นอักษรไทย:''' "วัดหฺมฺ้อฅำทฺวง์"<br />'''คำอ่าน:''' "วัดหม้อคำตวง"]]
'''อักษรธรรมล้านนา''' หรือ '''ตัวเมือง''' ({{lang-nod|[[ไฟล์:LN-Lanna_Alphabets.png|210px]]}} ''อักขรธัมม์ล้านนา รฤ ตัวเมือง''; {{lang-khb|ᦒᧄ}}, ธรรม, "คัมภีร์") หรือ '''อักษรยวน''' ภาษาไทยกลางในอดีตเรียกว่า '''ไทยเฉียง'''<ref>[[จิตร ภูมิศักดิ์]]. ''ความเป็นมาของคำสยาม, ไทย ลาว และขอม และลักษณะทางสังคมของชื่อชนชาติ''. พิมพ์ครั้งที่ 6. กรุงเทพฯ:ชนนิยม. 2556, หน้า 139</ref> เป็นอักษรที่ใช้ในสามภาษา ได้แก่ [[ภาษาไทยถิ่นเหนือ]], [[ภาษาไทลื้อ]]และ[[ภาษาเขิน]] นอกเหนือจากนี้ อักษรล้านนายังใช้กับลาวธรรม (หรือลาวเก่า) และภาษาถิ่นอื่นในคัมภีร์ใบลานพุทธและสมุดบันทึก อักษรนี้ยังเรียก อักษรธรรมหรืออักษรยวน
 
ภาษาไทยถิ่นเหนือเป็นภาษาใกล้ชิดกับ[[ภาษาไทย]]และเป็นสมาชิกของตระกูลภาษาเชียงแสน มีผู้พูดเกือบ 6,000,000 คนในภาคเหนือของประเทศไทย และหลายพันคนในประเทศลาว ซึ่งมีจำนวนน้อยที่รู้อักษรล้านนา อักษรนี้ยังใช้อยู่ในพระสงฆ์อายุมาก ภาษาไทยถิ่นเหนือมีหก[[วรรณยุกต์]] ขณะที่ภาษาไทยมีห้าวรรณยุกต์ ทำให้การถอดเสียงเป็นอักษรไทยมีปัญหา มีความสนใจในอักษรล้านนาขึ้นมาอีกบ้างในหมู่คนหนุ่มสาว แต่ความยุ่งยากเพิ่มขึ้น คือ แบบภาษาพูดสมัยใหม่ ที่เรียก คำเมือง ออกเสียงต่างจากแบบเก่า<ref name=Natnapang>{{cite book
บรรทัด 36:
 
== พยัญชนะ ==
อักษรธรรมล้านนาจัดตามกลุ่มพยัญชนะวรรคตามพยัญชนะภาษาบาลี แบ่งออกเป็น 5 วรรค วรรคละ 5 ตัว เรียกว่า“พยัญชนะวรรค”หรือ“พยัญชนะในวรรค”อีก 8 ตัวไม่จัดอยู่ในวรรคเรียกว่า“พยัญชนะอวรรค”หรือ“พยัญชนะนอกวรรค”หรือ“พยัญชนะเศษวรรค”ส่วนการอ่านออกเสียงเรียกพยัญชนะทั้งหมดนั้น จะเรียกว่า“ตั๋ว”เช่น ตั๋ว กะ/ก/ ตั๋ว ขะ/ข/ ตั๋ว จะ/จ/ เป็นต้น
 
=== พยัญชนะปกติ ===