ผลต่างระหว่างรุ่นของ "ภาษากวางตุ้งมาตรฐาน"

เนื้อหาที่ลบ เนื้อหาที่เพิ่ม
Officer781 (คุย | ส่วนร่วม)
→‎ท้ายพยางค์: corrected. As the short vowel is central, it is unknown whether it is the short version of the back or front vowel.
Officer781 (คุย | ส่วนร่วม)
→‎ต้นพยางค์: updated from English Wikipedia. leaving the additional sentence in comment form for someone to translate.
บรรทัด 81:
นักภาษาศาสตร์บางท่านจัดว่า {{IPA|/j/}} และ {{IPA|/w/}} เป็นส่วนหนึ่งของท้ายพยางค์ซึ่งมากับเสียงสระ {{IPA|/i/}} และ {{IPA|/u/}} ตามลำดับ เหมือนกับ[[ภาษาจีนกลาง]] บางท่านก็วิเคราะห์ว่า {{IPA|/ʔ/}} มาจากเสียงสระ เมื่อพยางค์นั้นไม่มีเสียงของพยัญชนะต้น
 
ในกลุ่มเสียงฐานฟันหรือปุ่มเหงือกสามารถเปลี่ยนแปรไปได้ {{IPA|/t/}} กับ {{IPA|/tʰ/}} จะอยู่ที่ฐานฟัน ในขณะที่ {{IPA|/t͡s/}}, {{IPA|/t͡sʰ/}}, {{IPA|/s/}} ซึ่งปกติแล้วมักจะออกเสียงที่ฐานปุ่มเหงือก (<!-- Need translation: and contrary to the literature they are not palatalized significantly by vowels.<ref>{{IPAcitation |[t͡s]}},last=Wright {{IPA|[t͡sʰ]}},first=Sue {{IPA|[s]}})last2=Kelly-Holmes แต่สามารถออกเสียงเป็นฐานหลังปุ่มเหงือก|first2=Helen ({{IPA|[t͡ʃ]}},year=1997 {{IPA|[t͡ʃʰ]}}title=One Country, {{IPA|[ʃ]}})Two หรือฐานปุ่มเหงือก-เพดานแข็งSystems, Three Languages ({{IPA|[t͡ɕ]}},publisher=Multilingual Matters {{IPA|[t͡ɕʰ]}},isbn=9781853593963 {{IPA|[ɕ]}})page=90 โดยเฉพาะเมื่อประสมกับเสียงสระ {{IPA|url=https://books.google.com.sg/books?id=uys1QNq4t-AC}}, </ref><ref>{{IPAcite journal |/ɪ/}}last=Lee |first=W.-S. |last2=Zee |first2=E. |date=2010 |title=Articulatory characteristics of the coronal stop, หรือaffricate, and fricative in cantonese {{IPA|url=http://www.cuhk.edu.hk/journal/jcl/jcl/chin_lin/38/38_2_6.html |journal=Journal of Chinese Linguistics |volume=38 |issue=2 |pages=336-372 |doi=}}</ref> -->.
 
ผู้ที่พูดภาษากวางตุ้งมาตรฐานบางคนไม่สามารถแยกแยะความแตกต่างระหว่าง {{IPA|/n/}} กับ {{IPA|/l/}} โดยจะออกเสียงเป็น {{IPA|/l/}} และระหว่าง {{IPA|/ŋ/}} กับหน่วยเสียงว่าง ซึ่งก็จะออกเสียงแต่หน่วยเสียงว่าง