ผลต่างระหว่างรุ่นของ "การค้นหาและกู้ภัย"

เนื้อหาที่ลบ เนื้อหาที่เพิ่ม
Liger (คุย | ส่วนร่วม)
ไม่มีความย่อการแก้ไข
Manop (คุย | ส่วนร่วม)
จัดรูปแบบ
บรรทัด 1:
'''การค้นหากู้ภัย''' (search and Rescue) ในบางครั้งอาจจะใช้คำว่า ค้นหาช่วยชีวิต หรือค้นหาช่วยเหลือ หมายถึง การ ช่วยชีวิต ผู้ที่ประสพภัย ให้รอดพ้นจากภัยพิบัติ, ระหว่างเกิดหรือหลังพิบัติเกิดขึ้นแล้ว ซึ่งไม่ได้จำกัดแค่ภัยบนท้องถนน เท่านั้น
{{ช่วยดูหน่อย}}
 
== '''การค้นหากู้ภัย Search and Rescue ''' ==
ในบางครั้งอาจจะใช้คำว่า ค้นหาช่วยชีวิต หรือค้นหาช่วยเหลือ หมายถึง การ ช่วยชีวิต ผู้ที่ประสพภัย ให้รอดพ้นจากภัยพิบัติ, ระหว่างเกิดหรือหลังพิบัติเกิดขึ้นแล้ว ซึ่งไม่ได้จำกัดแค่ภัยบนท้องถนน เท่านั้น
ซึ่งบางครั้งอาจะสับสนกับการเก็บกู้ศพ หรือ งานช่วยเหลือประชาชน
เมื่อกล่าวถึงคำว่าภัยพิบัติ หรือสาธารณภัย ซึ่งตรงกับคำว่า Disaster ซึ่งในภาษาอังกฤษจะมีความหมายที่เข้าใจชัดเจน แต่ในคำไทยนั้น อาจจะมีคำที่ทำให้เกิดความคลาดเคลื่อนได้ เช่น คำว่าอุบัติภัย , หรือภัยฝ่ายพลเรือน
''อุบัติภัย'' หมายถึง ภัยที่เกิดจาก อุบัติเหตุ จากการจราจร ,เนื่องจากการทำงาน หรือในบ้านหรือที่สาธารณะ
[[สาธารณภัย]] หมายถึง อัคคีภัย ,วาตะภัย อุทกภัย , ตลอดจนภัยอื่นที่ เกิดจากธรรมชาติหรือมีผู้ทำให้เกิดขึ้น ก่อให้เกิด อันตรายต่อร่างกาย , ชีวิต ,ทรัพย์สิน ของ
ประชาชนหรือของรัฐ ( พ.ร.บ. ป้องกันภัยฝ่ายพลเรือน พ.ศ. 2522 : 2 )
[[ภัยพิบัติ]]
สำหรับคำว่า ภัยพิบัติ ความหมายตามพจนานุกรม ฉบับ ราชบัณฑิตสถาน พ.ศ. 2525 ให้ความหายของ ภัย ว่า “ สิ่งที่น่ากลัว อันตราย ” และคำว่า พิบัติ หมายถึง “ความคลาดเคลื่อน ความผิด ”เมื่อ รวมกันแล้ว อาจจะหมายถึง “ความเสียหาย ความฉิบหาย จากอันตราย ”
ส่วนระเบียบกระทรวงการคลัง ว่าด้วย เงินทดรองราชการ เพื่อช่วยเหลือผู้ประสบภัย ได้ให้ความหมายว่า “สาธารณภัย ได้แก่ อัคคีภัย, วาตภัย, อุทกภัย, ภัยแล้ง, ภัยจากลูกเห็บ, ไฟป่า, ภัยจากโรคระบาด, อากาศหนาวจัดผิดปกติ, ภัยสงคราม, ภัยจากการก่อการร้าย กองกำลังจากนอกประเทศ หรือจากการปราบปราบของเจ้าหน้าที่ทางราชการ ตลอดจนภัยอื่นๆ ซึ่งก่อให้เกิดอันตรายแก่ชีวิต ร่างกายของประชาชน หรือก่อให้เกิดความเสียหายแก่ทรัพย์สินของประชาชนหรือรัฐ
 
 
== '''กรมป้องกันและบรรเทาสาธารณภัย
(Department of Disaster Prevention and Mitigation)'''
==
 
เมื่อ ปี 2545 รัฐบาลได้มีการจัดตั้ง หน่วยงานที่มีความรับผิดชอบในการป้องกันและบรรเทาสาธรณภัย ซึ่งได้ยุบรวมมาจาก 5หน่วยงาน ซึ่ง เป็นความพยายามที่จะบูรณาการงานด้านการจัดการภัยพิบัติของประเทศเข้าด้วยกันเพื่อให้เกิดประสิทธิภาพสูงสุด ได้แก่
1. กรมการเร่งรัดพัฒนาชนบท ,
2. กองป้องกันภัยฝ่ายพลเรือน , กรมการปกครอง ,
3. สำนักงานคณะกรรมการป้องกันอุบัติภัย,สำนักงานปลัดสำนักนายกรัฐมนตรี ,
4. กองสงเคราะห์ผู้ประสบภัย,กรมประชาสงเคราะห์และ
5. กรมการพัฒนาชุมชน(งานบริการด้านช่างพื้นฐาน )
 
 
== '''ขั้นตอนค้นหากู้ภัย ==
ขั้นการปฏิบัติ'''
 
== '''1.การรับแจ้งและการรายงาน Report''' ==
 
ขั้นตอนนี้เป็นขั้นที่ หน่วย รับแจ้งเหตุจาก ผู้ประสพภัยหรือหน่วยอื่น เพื่อให้หน่วยช่วยชีวิต เข้าช่วยชีวิตในพื้นที่ที่กำหนด โดย ในส่วน ผู้รับแจ้ง ต้องรับทราบข้อมูลที่จำเป็นในการช่วยชีวิตขั้นต้น และ กระจายข่าวของส่งข่าวให้หน่วยช่วยเหลือที่ ใกล้ที่สุด หรือ ผู้ที่จะเข้าช่วยเหลือ
 
== '''2.การวางแผนขั้นต้น Planning ''' ==
เป็นการปรับแผนที่เคยวางไว้ ( ถ้ามี ) ให้เข้ากับสถานการณ์ที่เกิดขึ้น ซึ่งหากปฏิบัติบ่อยๆจะกลายเป็นซึ่งที่ทหารเรียกว่า รปจ. หรือ ระเบียบปฏิบัติประจำ
 
== 3.การค้นหาและการเข้าสู่พื้นที่ locate ==
 
 
ทางบก ได้แก่ การเดินเท้า การขึ้นหรือลงจากที่สูง ทางรถยนต์
ทางอากาศ
ทางน้ำ
ผสม
 
== '''กรมป้องกันและบรรเทาสาธารณภัย ในประเทศไทย ==
== ''4.การเข้าถึง Access''' ==
กรมป้องกันและบรรเทาสาธารณภัย (Department of Disaster Prevention and Mitigation) จัดตั้งเมื่อ ปี 2545 รัฐบาลได้มีการจัดตั้ง หน่วยงานที่มีความรับผิดชอบในการป้องกันและบรรเทาสาธรณภัย ซึ่งได้ยุบรวมมาจาก 5หน่วยงาน ซึ่ง เป็นความพยายามที่จะบูรณาการงานด้านการจัดการภัยพิบัติของประเทศเข้าด้วยกันเพื่อให้เกิดประสิทธิภาพสูงสุด ได้แก่
เป็นการใช้ ทรัพยากร , เครื่องมือ , ทักษะความชำนาญ เพื่อที่จะเข้าถึง ผู้ประสบภัยอย่างปลอดภัยทั้งนี้รวมทั้ง การนำชุดช่วยเหลือกู้ภัยออกอย่างปลอดภัยดัวย ประกอบด้วย การเจาะเข้าที่เกิดเหตุ และ การช่วยเหลือ ซึ่ง ภาพที่เห็นบ่อย คือ การใช้เครื่อง ตัดถ่าง งัดแงะร่างผู้บาดเจ็บออกมา อุปกรณที่ใช้เช่น เ อุปกรณ์ลงทางดิ่ง ,เชือก แบบมีแกน( Kernmetal Rope ), ชุดสายรัดตัวในการกู้ภัย
1. # กรมการเร่งรัดพัฒนาชนบท ,
== '''5.การช่วยเหลือปฐมพยาบาลเตรียมการเคลื่อนย้าย Stabilize''' ==
2. # กองป้องกันภัยฝ่ายพลเรือน , กรมการปกครอง ,
เป็นการให้การดูแลด้านการแพทย์ ณ พื้นที่เกิดเหตุ เพื่อที่จะ นำผู้ประสบภัย ออก โดยไม่มีการบาดเจ็บเพิ่มเติม และ ไม่มีอาการที่รุนแรงขึ้น จากที่เป็นอยู่ ในส่วนงานด้านนี้ นั้น ในพื้นที่ ประสบภัยที่สามารถเข้าถึงสะดวกด้วยรถยนต์ ก็ ไม่เป็นปัญหานัก แต่ถ้าเป็นพื้นที่ ที่ถูกตัดขาดนั้น การปฏิบัติดังกล่าว ยังไม่มีประสิทธิภาพพอ เนื่องจาก งานด้านการพยาบาลสนาม( การรักษาพยาบาล ที่ อาจจะมากกว่าการปฐมพยาบาล ทั่วไป โดยที่ไม่ใช้นายแพทย์ เนื่องจาก ความห่างไกลของระยะทาง เวลาที่ใช้ในการเดินทาง ซึ่งเป็นห้วงเวลาที่ต้องใช้ทักษะที่สูงขึ้นในการกู้ชีพ เช่น การห้ามเลือดด้วยการบีบเส้นเลือดใหญ่Clamping , การให้น้ำเกลือ , การลดความกดดันในช่องอก Decompression and Drainage of chest , การทำช่องหายใจฉุกเฉิน Emergency Airway Procedures ) ซึ่ง นายแพทย์หลายคนว่า มันอันตราย หากทำไม่ถูกต้อง ควร.ซึ่ง ในสถานการณ์ภัยพิบัติบางครั้ง หมอคงไปไม่ถึงที่เหล่านั้น หรือ นานเกินที่จะรอ
3. # สำนักงานคณะกรรมการป้องกันอุบัติภัย,สำนักงานปลัดสำนักนายกรัฐมนตรี ,
4. # กองสงเคราะห์ผู้ประสบภัย,กรมประชาสงเคราะห์และ
5. # กรมการพัฒนาชุมชน (งานบริการด้านช่างพื้นฐาน )
 
== '''การขั้นตอนค้นหากู้ภัย Search and Rescue ''' ==
== '''6.การนำส่งพื้นที่รองรับ''' ==
# การรับแจ้งและการรายงาน (Report) - ขั้นตอนนี้เป็นขั้นที่ หน่วย รับแจ้งเหตุจาก ผู้ประสพภัยหรือหน่วยอื่น เพื่อให้หน่วยช่วยชีวิต เข้าช่วยชีวิตในพื้นที่ที่กำหนด โดย ในส่วน ผู้รับแจ้ง ต้องรับทราบข้อมูลที่จำเป็นในการช่วยชีวิตขั้นต้น และ กระจายข่าวของส่งข่าวให้หน่วยช่วยเหลือที่ ใกล้ที่สุด หรือ ผู้ที่จะเข้าช่วยเหลือ
หรือพื้นที่ รักษาพยาบาล Transportation เป็นการเคลื่อนย้ายผู้บาดเจ็บจากพื้นที่ที่อันตราย ไปยังพื้นที่ที่ปลอดภัย เพื่อการรักษาขั้นสูงต่อไป เช่น การนำออกจากพื้นที่ป่าภูเขามายัง สนาม ฮ.ที่ใกล้ที่สุดเพื่อส่งต่อไปยัง รพ.มีขีดความสามารถเพียงพอในการรักษา เช่น การเคลื่อนย้าย ไปยังพื้นที่ รองรับ ( สถานพยาบาล ) ซึ่งการทำงานโดยทั่วไปก็จะใช้เทคนิคเดี่ยวกับการเข้าถึงพื้นที่
# การวางแผนขั้นต้น (Planning) - เป็นการปรับแผนที่เคยวางไว้ ( ถ้ามี ) ให้เข้ากับสถานการณ์ที่เกิดขึ้น ซึ่งหากปฏิบัติบ่อยๆจะกลายเป็นซึ่งที่ทหารเรียกว่า รปจ. หรือ ระเบียบปฏิบัติประจำ
# การค้นหาและการเข้าสู่พื้นที่ (Locate)ทางบก ได้แก่ การเดินเท้า การขึ้นหรือลงจากที่สูง ทางรถยนต์ ทางอากาศ ทางน้ำ ผสม
# การเข้าถึง (Access) เป็นการใช้ ทรัพยากร , เครื่องมือ , ทักษะความชำนาญ เพื่อที่จะเข้าถึง ผู้ประสบภัยอย่างปลอดภัยทั้งนี้รวมทั้ง การนำชุดช่วยเหลือกู้ภัยออกอย่างปลอดภัยดัวย ประกอบด้วย การเจาะเข้าที่เกิดเหตุ และ การช่วยเหลือ ซึ่ง ภาพที่เห็นบ่อย คือ การใช้เครื่อง ตัดถ่าง งัดแงะร่างผู้บาดเจ็บออกมา อุปกรณที่ใช้เช่น เ อุปกรณ์ลงทางดิ่ง ,เชือก แบบมีแกน ( Kernmetal Rope ) , ชุดสายรัดตัวในการกู้ภัย
# การช่วยเหลือปฐมพยาบาลเตรียมการเคลื่อนย้าย (Stabilize) เป็นการให้การดูแลด้านการแพทย์ ณ พื้นที่เกิดเหตุ เพื่อที่จะ นำผู้ประสบภัย ออก โดยไม่มีการบาดเจ็บเพิ่มเติม และ ไม่มีอาการที่รุนแรงขึ้น จากที่เป็นอยู่ ในส่วนงานด้านนี้ นั้น ในพื้นที่ ประสบภัยที่สามารถเข้าถึงสะดวกด้วยรถยนต์ ก็ ไม่เป็นปัญหานัก แต่ถ้าเป็นพื้นที่ ที่ถูกตัดขาดนั้น การปฏิบัติดังกล่าว ยังไม่มีประสิทธิภาพพอ เนื่องจาก งานด้านการพยาบาลสนาม ( การรักษาพยาบาล ที่ อาจจะมากกว่าการปฐมพยาบาล ทั่วไป โดยที่ไม่ใช้นายแพทย์ เนื่องจาก ความห่างไกลของระยะทาง เวลาที่ใช้ในการเดินทาง ซึ่งเป็นห้วงเวลาที่ต้องใช้ทักษะที่สูงขึ้นในการกู้ชีพ เช่น การห้ามเลือดด้วยการบีบเส้นเลือดใหญ่Clamping , การให้น้ำเกลือ , การลดความกดดันในช่องอก Decompression and Drainage of chest , การทำช่องหายใจฉุกเฉิน Emergency Airway Procedures ) ซึ่ง นายแพทย์หลายคนว่า มันอันตราย หากทำไม่ถูกต้อง ควร.ซึ่ง ในสถานการณ์ภัยพิบัติบางครั้ง หมอคงไปไม่ถึงที่เหล่านั้น หรือ นานเกินที่จะรอ
# การนำส่งพื้นที่รองรับ หรือพื้นที่ รักษาพยาบาล (Transportation) เป็นการเคลื่อนย้ายผู้บาดเจ็บจากพื้นที่ที่อันตราย ไปยังพื้นที่ที่ปลอดภัย เพื่อการรักษาขั้นสูงต่อไป เช่น การนำออกจากพื้นที่ป่าภูเขามายัง สนาม ฮ.ที่ใกล้ที่สุดเพื่อส่งต่อไปยัง รพ.มีขีดความสามารถเพียงพอในการรักษา เช่น การเคลื่อนย้าย ไปยังพื้นที่ รองรับ ( สถานพยาบาล ) ซึ่งการทำงานโดยทั่วไปก็จะใช้เทคนิคเดี่ยวกับการเข้าถึงพื้นที่
 
[[หมวดหมู่:การกู้ภัย]]