ผลต่างระหว่างรุ่นของ "พระยาเทพหัสดิน (ผาด เทพหัสดิน ณ อยุธยา)"

เนื้อหาที่ลบ เนื้อหาที่เพิ่ม
ไม่มีความย่อการแก้ไข
บรรทัด 20:
| footnotes =
}}
 
[[ไฟล์:Devhasdin-P4.jpg|thumb|right|ภาพพลเอกพระยาเทพหัสดินฯ ลายฝีพระหัตถ์ของพระบาทสมเด็จพระมงกุฏเกล้าเจ้าอยู่หัว รัชกาลที่ 6 พระราชทานแก่พลเอกพระยาเทพหัสดินฯ เมื่อครั้งเป็นพลตรี พระยาพิไชยชาญฤทธิ์ เมื่อ พ.ศ. 2462]]
'''พลเอกพระยาเทพหัสดิน''' (ผาด เทพหัสดิน ณ อยุธยา; 6 กุมภาพันธ์ พ.ศ. 2420 - 7 กรกฎาคม [[พ.ศ. 2494]]) พลเอก หัวหน้าคณะทูตทหารไทยที่เข้าร่วมรบใน[[สงครามโลกครั้งที่ 1]] นักโทษประหาร สมาชิกวุฒิสภา สมาชิกสภาร่างรัฐธรรมนูญและรัฐมนตรีว่าการ[[กระทรวงคมนาคม]] ในรัฐบาล[[จอมพล ป. พิบูลสงคราม]]
 
บรรทัด 26:
 
== ปฐมวัยและการศึกษา ==
[[ไฟล์:Devhasdin-P3.JPG|left|thumb|พลตรีพระยาพิไชยชาญฤทธิ์ (ผาด เทพหัสดิน ณ อยุธยา) กับคณะนายทหารไทยที่ไปร่วมสงครามโลกครั้งที่ 1]]
ตามคตินิยมในสกุล ลูกข้าหลวงเดิมจะต้องเป็น[[มหาดเล็กหลวง]] มิฉะนั้นก็เรียกได้ว่าขาดความจงรักภักดีต่อพระบาทสมเด็จพระเจ้าอยู่หัว ฉะนั้นเมื่อพระยาเทพหัสดิน มีอายุได้เพียง 5 ขวบ ก็ได้ถูกนำตัวเข้าไปทูลเกล้าฯ ถวายดอกไม้ ธูปเทียนเป็นมหาดเล็กหลวง พระบาทสมเด็จพระจุลจอมเกล้าเจ้าอยู่หัวตรัสว่า ''“เด็กคนนี้หน้าตาดีและคล่องแคล่ว ทั้งอายุอานามก็ไล่เลี่ยกับฟ้าชายใหญ่ ให้นำดอกไม้ธูปเทียนไปถวายตัวเป็นมหาดเล็กฟ้าชายใหญ่เถิด จะได้เป็นเพื่อนเล่นกัน”'' จึงได้ทรงพระกรุณาโปรดเกล้าฯให้นำตัวไปถวายดอกไม้ธูปเทียนให้เป็น[[มหาดเล็ก]] และเป็นเพื่อนเล่นกับกับเจ้าฟ้าชายพระองค์ใหญ่ คือ[[สมเด็จพระเจ้าลูกยาเธอเจ้าฟ้ามหาวชิรุณหิศ]] ซึ่งต่อมาได้ทรงสถาปนาเป็น สมเด็จพระบรมโอรสาธิราช สยามมกุฎราชกุมาร องค์แรกของกรุงรัตนโกสินทร์
เส้น 33 ⟶ 34:
 
== ชีวิตการทำงานและผลงาน ==
{{multiple image
[[ไฟล์:Devhasdin-P3.JPG|thumb|พลตรีพระยาพิไชยชาญฤทธิ์ (ผาด เทพหัสดิน ณ อยุธยา) กับคณะนายทหารไทยที่ไปร่วมสงครามโลกครั้งที่ 1]]
| align = right
| direction = horizontal
| header =
| header_align = left/right/center
| footer =
| footer_align = left
| image1 = (1919) pic40 - The Commander of the Simace Troops in Europe.jpg
| width1 = 140
| caption1 = พลเอก พระยาเทพหัสดิน เมื่อครั้งเป็นพลตรี พระยาพิไชยชาญฤทธิ์ ขณะปฏิบัติหน้าที่หัวหน้าคณะทูตพิเศษของกองทหารอาสาสยามในสงครามโลกครั้งที่ 1 ในประเทศฝรั่งเศส
| image2 = Devhasdin-P4.jpg
| width2 = 180
[[ไฟล์:Devhasdin-P4.jpg|thumb|right| caption2 = ภาพพลเอกพระยาเทพหัสดินฯ ลายวาดฝีพระหัตถ์ของพระบาทสมเด็จพระมงกุฏเกล้าเจ้าอยู่หัว รัชกาลที่ 6 พระราชทานแก่พลเอก พระยาเทพหัสดินฯ เมื่อครั้งเป็นพลตรี พระยาพิไชยชาญฤทธิ์ เมื่อ พ.ศ. 2462]]
}}
ด้วยพระปรีชาญาณอันสุขุมของพระบาทสมเด็จพระมงกุฎเกล้าเจ้าอยู่หัวที่ได้ทรงเล็งเห็นการไกล เมื่อวันที่ 22 กรกฎาคม [[พ.ศ. 2460]] ประเทศไทยประกาศสงครามกับประเทศ[[เยอรมนี]] และ [[ออสเตรีย]]-[[ฮังการี]] ใน[[สงครามโลกครั้งที่ 1]] โดยมีพระบรมราชโองการเรียกผู้อาสาสมัคร เพื่อเดินทางไปร่วมรบยังสมรภูมิ[[ยุโรป]] มีคนสมัครเป็นจำนวนมาก ในเวลานั้นพระยาเทพหัสดินซึ่งยังมีตำแหน่งและบรรดาศักดิ์เป็นนายพลตรี พระยาพิไชยชาญฤทธิ์ ผู้บัญชาการกองพลที่ 4 ได้รับพระมหากรุณาธิคุณโปรดเกล้าฯ ให้เป็นหัวหน้าคณะทูตพิเศษในตำแหน่งแม่ทัพไทยที่จะนำกองทัพทหารอาสาไทยเดินทางไปร่วมรบทวีปในยุโรป