ผลต่างระหว่างรุ่นของ "เครื่องปฏิกรณ์นิวเคลียร์"

เนื้อหาที่ลบ เนื้อหาที่เพิ่ม
Roonie.02 (คุย | ส่วนร่วม)
BotKung (คุย | ส่วนร่วม)
เก็บกวาดบทความด้วยบอต
บรรทัด 17:
บทความหลัก: [[การแบ่งแยกนิวเคลียส|นิวเคลียร์ฟิชชัน]]
 
เมื่อนิวเคลียสของอะตอมขนาดใหญ่ที่มีคุณสมบัติฟิชชั่น<ref>วัสดุฟิสไซล์เป็นวัสดุสามารถให้ความยั่งยืนกับปฏิกิริยาลูกโซ่นิวเคลียร์ฟิชชั่น ซึ่งประกอบด้วยธาตุที่นิวเคลียสแบ่งแยกได้โดยนิวตรอนทุกพลังงาน โดยเฉพาะกับเทอร์มัลนิวตรอน วัสดุฟิสไซล์ที่สำคัญ เช่น พลูโทเนียม-239 ยูเรเนียม-235 และยูเรเนียม-233 วัสดุฟิสไซล์นี้บางครั้งเรียกว่า วัสดุเกิดฟิชชันได้ [นิวเคลียร์]</ref> เช่นยูเรเนียม-235 หรือพลูโตเนียม-239 ดูดซับนิวตรอน มันอาจทำให้เกิดปฏิกริยาปฏิกิริยานิวเคลียร์ฟิชชั่นขึ้น นิวเคลียสหนักจะแยกออกเป็นนิวเคลียสที่เบากว่า ([[ผลผลิตจากฟิชชัน]]) สองตัวหรือมากกว่า พร้อมกับปล่อยพลังงานจลน์ รังสีแกมมา และนิวตรอนอิสระออกมามากมาย ส่วนหนึ่งของนิวตรอนเหล่านี้ต่อมาอาจถูกดูดซึมโดยอะตอมที่มีคุณสมบติฟิชชั่นอื่น ๆ และก่อให้เกิดปฏิกิริยาฟิชชันต่อไปซึ่งจะปล่อยนิวตรอนมากขึ้น และทำซ้ำ ๆ ไปเรื่อย ๆ ปรากฏการณ์นี้เรียกว่าปฏิกิริยาลูกโซ่นิวเคลียร์ ({{lang-en|nuclear chain reaction}})
 
เพื่อควบคุมปฏิกิริยาลูกโซ่นิวเคลียร์ สารดูดกลืนนิวตรอน ({{lang-en|neutron poison หรือ neutron absorber}})<ref>สารพอยซัน(ปฏิกิริยานิวเคลียร์), วัสดุใดๆ ที่มีภาคตัดขวางการดูดกลืนนิวตรอนสูง ซึ่งจะดูดกลืนนิวตรอนบางส่วนจากปฏิกิริยาลูกโซ่ฟิชชั่นในเครื่องปฏิกรณ์นิวเคลียร์ เป็นผลให้ปฏิกิริยานิวเคลียร์ลดลง [นิวเคลียร์], อังกฤษ-ไทย: คลังศัพท์ไทย โดย สวทช.</ref> และ ตัวหน่วงความเร็วนิวตรอน ({{lang-en|Neutron moderator}}) สามารถลดปริมาณบางส่วนของนิวตรอนที่จะไปทำให้เกิดปฏิกิริยาฟิชชัน ทำให้ปฏิกิริยาลูกโซ่นิวเคลียร์ลดลง<ref name="DOE HAND"/> เครื่องปฏิกรณ์นิวเคลียร์ทั่วไปมักจะมีระบบอัตโนมัติและคู่มือที่จะปิดปฏิกิริยาฟิชชันลงหากระบบการตรวจสอบตรวจพบสภาวะที่ไม่ปลอดภัย<ref>
บรรทัด 23:
</ref>.
 
ตัวหน่วงปฏิกริยาปฏิกิริยาที่ใช้กันโดยทั่วไปประกอบด้วยน้ำธรรมดา (น้ำเบา) (เป็น 74.8% ของเครื่องปฏิกรณ์ของโลก), แท่งแกรไฟท์ (20% ของเครื่องปฏิกรณ์) และน้ำหนัก ({{lang-en|heavy water}}) (5% ของเครื่องปฏิกรณ์) บางชนิดของเครื่องปฏิกรณ์ที่ใช้ในการทดลองจะใช้เบริลเลียม แต่ไฮโดรคาร์บอนก็ได้รับการแนะนำว่าเป็นอีกทางเลือกหนึ่ง<ref name="DOE HAND">
{{cite web |title=DOE Fundamentals Handbook: Nuclear Physics and Reactor Theory |publisher=US Department of Energy |url= http://www.hss.energy.gov/NuclearSafety/techstds/standard/hdbk1019/h1019v2.pdf |format=PDF |accessdate=24 September 2008 |archiveurl = //web.archive.org/web/20080423194722/http://www.hss.energy.gov/NuclearSafety/techstds/standard/hdbk1019/h1019v2.pdf |archivedate = 23 April 2008}}
</ref>