ผลต่างระหว่างรุ่นของ "ภัยพิบัตินิวเคลียร์ฟูกูชิมะแห่งที่หนึ่ง"

เนื้อหาที่ลบ เนื้อหาที่เพิ่ม
BotKung (คุย | ส่วนร่วม)
เก็บกวาดบทความด้วยบอต
Roonie.02 (คุย | ส่วนร่วม)
บรรทัด 430:
 
=== การเปลี่ยนแปลงในอุปกรณ์, สิ่งอำนวยความสะดวกและการดำเนินงาน ===
 
จำนวนมากของบทเรียนระบบความปลอดภัยปฏิกรณ์นิวเคลียร์เกิดขึ้นจากเหตุการณ์ ที่ชัดเจนที่สุดคือที่ในพื้นที่เกิดสึนามิได้ง่าย กำแพงทะเลของโรงไฟฟ้าจะต้องมีความสูงและแข็งแกร่งอย่างเพียงพอ<ref name=":18" /> ที่โรงไฟฟ้​​านิวเคลียร์ Onagawa ที่อยู่ใกล้กับศูนย์กลางของแผ่นดินไหวและคลื่นสึนามิเมื่อวันที่ 11 มีนาคมมากกว่า<ref name="reuters.com"/> กำแพงทะเลสูง 14 เมตรและประสบความสำเร็จในการทนต่อเหตุการณ์สึนามิ สามารถป้องกันไม่ให้เกิดความเสียหายร้ายแรงและการปลดปล่อยกัมมันตภาพรังสี<ref name="iaea"/><ref name="www17"/>
 
ผู้ประกอบการโรงไฟฟ้​​านิวเคลียร์ทั่วโลกเริ่มที่จะติดตั้งตัวผสมไฮโดรเจนที่เป็นตัวเร่งปฏิกิริยาอัตโนมัติแบบไม่ตอบโต้ ({{lang-en|Passive Auto-catalytic hydrogen Recombiners ("PARs")}}) ซึ่งไม่ต้องใช้ไฟฟ้าในการทำงาน<ref name="world-nuclear-news"/><ref name="business-standard"/><ref name="nuclear-engineering-journal"/> PARs ทำงานเหมือนมากกับเครื่องฟอกไอเสีย ({{lang-en|catalytic converter}}) กับไอเสียของรถยนต์ โดยมันจะเปลี่ยนก๊าซที่อาจทำให้เกิดการระเบิดเช่นไฮโดรเจนให้เป็นน้ำ ถ้าอุปกรณ์ดังกล่าวได้รับการติดตั้งที่ด้านบนของอาคารบรรจุเครื่องปฏิกรณ์นิวเคลียร์ฟุกุชิมะหนึ่ง ในที่ซึ่งแก๊สไฮโดรเจนถูกเก็บเอาไว้ การระเบิดก็จะไม่เกิดขึ้นและการปลดปล่อยไอโซโทปกัมมันตรังสีก็จะมีน้อยมากน้อย<ref name="spectrum.ieee.org"/>
 
ระบบการกรองแบบไม่ใช้ไฟฟ้าในเส้นทางการระบายอากาศของอาคารบรรจุ หรือที่เรียกว่าระบบระบายอากาศอาคารบรรจุแบบกรอง ({{lang-en|Filtered Containment Venting Systems (FCVS)}}) สามารถจับสารกัมมันตรังสีได้อย่างปลอดภัย มันจึงช่วยให้ลดแรงดันของแกนเครื่องปฏิกรณ์ ด้วยไอน้ำและไฮโดรเจนถูกระบายออกไปโดยมีการปล่อยกัมมันตภาพรังสีน้อยที่สุด<ref name="spectrum.ieee.org"/><ref name="Nuclear chief: U.S. plants safer after Japan crisis. 10 March 2013" /> การกรองโดยใช้ระบบถังน้ำจากภายนอกเป็นระบบที่มีการจัดทำมากที่สุดในประเทศยุโรป ที่มีถังเก็บน้ำติดตั้งในตำแหน่งด้านนอกอาคารบรรจุ<ref name="Vents and Filtering Strategies Come to Forefront in Fukushima Response Nuclear Energy Insight. Fall 2012"/> ในเดือนตุลาคมปี 2013 เจ้าของโรงไฟฟ้าพลังงานนิวเคลียร์ Kashiwazaki-Kariwa เริ่มการติดตั้งตัวกรองเปียกและระบบความปลอดภัยอื่น ๆ คาดว่าจะเสร็จสมบูรณ์ในปี 2014<ref name="TEPCO implements new safety measures in bid to restart Niigata reactors"/><ref name="Kashiwazaki-Kariwa plant shown to reporters"/>
 
สำหรับเครื่องปฏิกรณ์นิวเคลียร์รุ่น 2G ที่ตั้งอยู่ในพื้นที่เสี่ยงภัยน้ำท่วมหรือสึนามิ ไฟฟ้าจากแบตเตอรี่สำรอง 3 วัน + ได้กลายเป็นมาตรฐานอุตสาหกรรมอย่างเป็นทางการ<ref name="power-eng"/><ref name="businesswire"/> การเปลี่ยนแปลงอีกอย่างก็คือการทำให้แข็งแรงขึ้นของสถ​​านที่ห้องพักเครื่องกำเนิดไฟฟ้าดีเซลสำรองด้วยประตูและ heat sinks ที่กันน้ำแน่นหนาและทนต่อแรงระเบิด คล้ายกับที่ใช้ในเรือดำน้ำนิวเคลียร์<ref name="spectrum.ieee.org"/> โรงไฟฟ้​​านิวเคลียร์ที่ดำเนินงานมาเก่าแก่ที่สุดในโลกชื่อ Beznau ซึ่งมีการดำเนินงานมาตั้งแต่ปี 1969 มีอาคารแข็งแรงแบบ 'Notstand' ที่ ออกแบบมาเพื่อสนับสนุนทั้งหมดของระบบอย่างเป็นอิสระเป็นเวลา 72 ชั่วโมงในกรณีที่เกิดแผ่นดินไหวหรือน้ำท่วมรุนแรง ระบบนี้ถูกสร้างขึ้นก่อนฟุกุชิมะไดอิจิ<ref name="woody"/><ref name="A PRA Practioner Looks at the Fukushima Daiichi Accident"/>
 
เมื่อเกิดไฟฟ้าดับคล้ายกับที่เกิดขึ้นหลังจากที่ฟุกุชิมะ ไฟฟ้าจากแบตเตอรี่สำรองได้หมดลง<ref name="2012 20th International Conference on Nuclear Engineering and the ASME 2012 Power Conference"/> หลายคนที่ได้สร้างเครื่องปฏิกรณ์นิวเคลียร์รุ่นที่สาม ได้พัฒนาหลักการของความปลอดภัยนิวเคลียร์แบบไม่โต้ตอบ ({{lang-en|passive nuclear safety}}) พวกเขาใช้ประโยชน์จากการพาความร้อน(หรือความเย็น) ({{lang-en|convection}}) (น้ำร้อนมีแนวโน้มที่จะพุ่งขึ้น) และแรงโน้มถ่วง (น้ำเย็นมีแนวโน้มที่จะไหลลง) เพื่อให้แน่ใจว่าการแจกจ่ายน้ำหล่อเย็นเป็นไปอย่างพอเพียงและไม่จำเป็นต้องใช้ปั๊มเพื่อจัดการกับ decay heat<ref name="power-engiii"/><ref name="Nuclear Science and Techniques 24 (2013) 040601 Study on the long-term passive cooling extension of AP1000 reactor"/>
 
== ปฏิกิริยา ==
 
=== ญี่ปุ่น ===
บทความหลัก: ปฏิกิริยาของญี่ปุ่นกับภัยพิบัตินิวเคลียร์ฟุกุชิมะไดอิจิ
 
[[File:Towns evacuated around Fukushima on April 11th, 2011.png|thumb|เมืองเล็ก หมู่บ้านและเมืองใหญ่ ๆ ของญี่ปุ่นภายในและรอบ ๆ เขตยกเว้นของโรงไฟฟ้​​านิวเคลียร์ไดอิจิ พื้นที่ในรัศมี 20 กม. และ 30 กม. มีคำสั่งให้มีการอพยพและสร้างที่พักพิง รวมทั้งเขตการปกครองเพิ่มเติมที่มีคำสั่งให้มีการอพยพถูกแสดงให้เห็นเป็นไฮไลต์ อย่างไรก็ตามความถูกต้องตามความเป็นจริงของแผนที่ดังกล่าวข้างต้นยังเป็นคำถามเพราะมีเพียงส่วนทางใต้ของอำเภอ Kawamata เท่านั้นที่มีคำสั่งให้อพยพ แผนที่ที่ถูกต้องมากกว่าก็มี]]
 
ทางการญี่ปุ่นภายหลังก็ยอมรับว่าขาดมาตรฐานที่เข้มงวดและมีการกำกับดูแลที่ไม่ดี<ref name="reuters2011"/> พวกเขาเอาไฟเข้ารับมือกับกรณีฉุกเฉินและมีส่วนร่วมในการแก้ปัญหาในรูปแบบของการปิดบังและการปฏิเสธข้อมูลของความเสียหาย<ref name=reuters2011/><ref name="japantimes11"/><ref name=nytaug/><ref name =bellaug/> เจ้าหน้าที่ถูกกล่าวหาว่า{{dubious|date=June 2015}} ต้องการจะ "จำกัดขนาดของการอพยพที่แพงและยุ่งเหยิงแผ่นดินที่หายากของญี่ปุ่นและเพื่อหลีกเลี่ยงการตั้งคำถามของสาธารณชนเกี่ยวกับอุตสาหกรรมนิวเคลียร์ที่มีอิทธิพลทางการเมือง" ความโกรธของประชาชนโผล่ออกมาผ่าน "การรณรงค์อย่างเป็นทางการ{{citation needed|date=June 2015}}{{failed verification|date=June 2015}} ครั้งหนึ่งที่ทำงานไม่เต็มสูบกับขอบเขตของการเกิดอุบัติเหตุและความเสี่ยงต่อสุขภาพที่อาจเกิดขึ้น"<ref name="nytaug"/><ref name="bellaug"/><ref name="ibtimes18"/>
 
ในหลายกรณี ประชาชนจำนวนมากในประเทศญี่ปุ่นตัดสินปฏิกิริยาของรัฐบาลญี่ปุ่นว่าน้อยกว่าเพียงพอ โดยเฉพาะผู้ที่อาศัยอยู่ในภูมิภาค การชำระล้างการปนเปื้อนของอุปกรณ์เป็นไปอย่างล่าช้า ทำให้การนำไปใช้ประโยชน์ช้าไปด้วย จนถึงปลายเดือนมิถุนายน 2011 แม้แต่น้ำฝนยังทำให้เกิดความกลัวและความไม่แน่นอนในภาคตะวันออกของประเทศญี่ปุ่นเนื่องจากความเป็นไปได้ของการชะล้างกัมมันตภาพรังสีจากฟากฟ้ากลับไปยังพื้นดิน{{Citation needed|date=July 2013}}
 
เพื่อระงับความกลัว รัฐบาลได้ประกาศใช้คำสั่งเพื่อชำระการปนเปื้อนในพื้นที่เป็นร้อย ๆ แห่งที่มีการปนเปื้อนในระดับของรังสีที่มากกว่าหรือเทียบเท่ากับหนึ่ง millisievert [ชี้แจงจำเป็น ว่าหนึ่งมิลลิซิลเวิตต่ออะไร] นี้เป็นเกณฑ์ที่ต่ำกว่าระดับที่จำเป็นสำหรับการปกป้องสุขภาพ รัฐบาลยังได้พยายามที่จะพูดถึงการขาดการศึกษาเกี่ยวกับผลกระทบของรังสีและขอบเขตของมันที่คนทั่วไปได้มีการสัมผัส<ref name="international"/>
 
ฝ่ายที่สนับสนุนการสร้างเครื่องปฏิกรณ์นิวเคลียร์ให้มากขึ้นก่อนหน้านี้ นายกาน ได้เพิ่มจุดยืนในการต่อต้านนิวเคลียร์มากขึ้นหลังจากภัยพิบัติ ในเดือนพฤษภาคมปี 2011 เขาได้สั่งให้โรงไฟฟ้​​านิวเคลียร์ Hamaoka ที่ใช้งานมานาน ปิดดำเนินการเนื่องจากความกังวลในแผ่นดินไหวและสึนามิ และกล่าวว่าเขาจะแช่แข็งแผนการก่อสร้าง ในเดือนกรกฎาคม 2011 นายกานกล่าวว่า "ญี่ปุ่นควรลดและกำจัดการพึ่งพาพลังงานนิวเคลียร์ในที่สุด"<ref name="Japan Premier Wants Shift Away From Nuclear Power"/> ในเดือนตุลาคมปี 2013 เขากล่าวว่าหากตระหนักถึงสถานการณ์ที่เลวร้ายที่สุด ประชาชน 50 ล้านคนภายในรัศมี 250 กิโลเมตรควรจะต้องมีการอพยพ<ref name="Encountering the Fukushima Daiichi Accident"/>
 
เมื่อวันที่ 22 เดือนสิงหาคม 2011 โฆษกรัฐบาลกล่าวถึงความเป็นไปได้ที่บางพื้นที่รอบโรงงาน "สามารถคงสภาพเป็นเขตต้องห้ามนานหลายทศวรรษ" ตามที่โยมิอุริชิมบุน รัฐบาลญี่ปุ่นได้กำลังวางแผนที่จะซื้อทรัพย์สินบางส่วนจากการพลเรือนเพื่อการจัดเก็บขยะและวัสดุที่ได้กลายเป็นสารกัมมันตรังสีหลังจากที่เกิดอุบัติเหตุ<ref name="www19"/><ref name="guardian"/> นายจิอากิ ทากาฮาชิ รัฐมนตรีว่าการกระทรวงต่างประเทศของญี่ปุ่นได้วิพากษ์วิจารณ์รายงานของสื่อต่างประเทศว่ามากเกินไป เขาเสริมว่าเขาสามารถ "เข้าใจความกังวลของต่างประเทศเกี่ยวกับการพัฒนาที่โรงงานนิวเคลียร์ในช่วงที่ผ่านมา รวมทั้งการปนเปื้อนกัมมันตภาพรังสีของน้ำทะเล"<ref name="jaif_45"/>
 
เนื่องจากความไม่พอใจกับ TEPCO และรัฐบาลญี่ปุ่น "ที่ให้ข้อมูลเกี่ยวกับปัญหาสุขภาพที่วิกฤตที่แตกต่างกัน มีความสับสน และในบางครั้งก็ขัดแย้งกัน"<ref name="aljazeera"/> กลุ่มของประชาชนที่เรียกว่า "Safecast" ได้บันทึกข้อมูลรายละเอียดของระดับรังสีในญี่ปุ่น<ref name="safecast"/><ref name="Volunteers Crowdsource Radiation Monitoring to Map Potential Risk on Every Street in Japan"/> รัฐบาลญี่ปุ่น "ไม่ได้พิจารณาว่าการอ่านของหน่วยงานที่ไม่ใช่รัฐบาลจะเป็นจริง" กลุ่มนี้ใช้อุปกรณ์ไกเกอร์เคาน์เตอร์ (Geiger counter) ที่เป็นมาตรฐาน เครื่องไกเกอร์เคาน์เตอร์ธรมดาเป็นเครื่องวัดการปนเปื้อนของรังสีแต่ไม่ได้เป็นเครื่องวัดปริมาณรังสี การตอบสนองจะแตกต่างกันมากระหว่างไอโซโทปรังสีที่แตกต่างกันเกินกว่าที่จะยอมให้หลอดเครื่องจีเอ็มธรรมดาเพียงหนึ่งหลอดสามารถใช้ได้ในการตรวจวัดปริมาณรังสีเมื่อมีไอโซโทปรังสีมากกว่าหนึ่งอย่าง โล่โลหะบางหนึ่งชิ้นจะถูกใช้พันรอบหลอดจีเอ็มเพื่อชดเชยพลังงานเพื่อให้มันสามารถนำไปใช้สำหรับการตรวจวัดปริมาณรังสี หลอดจีเอ็มเป็นสิ่งจำเป็นสำหรับตัวปล่อยรังสีแกมมาที่เป็นห้องไอออไนซ์หรือแกมมาสเปกโตรมิเตอร์หรือตัวชดเชยพลังงาน สมาชิกของสถานีตรวจสอบอากาศที่ภาควิชาวิศวกรรมนิวเคลียร์ที่มหาวิทยาลัยเบิร์กเลย์แคลิฟอร์เนียได้ทำการทดสอบตัวอย่างด้านสิ่งแวดล้อมหลายตัวอย่างในภาคเหนือของรัฐแคลิฟอร์เนีย<ref name="berkeley"/>
 
=== นานาชาติ ===
บทความหลัก: ปฏิกิริยาของนานาชาติที่มีต่อภัยพิบัตินิวเคลียร์ฟูกูชิม่าไดอิชิ
 
[[File:RCEvacFlight.JPG|thumb|เที่ยวบินอพยพกำลังออกจากเมืองมิซาวะ]]
[[File:ChopperDecon2011.jpg|thumb|right|เที่ยวบินมนุษยธรรมของกองทัพเรือสหรัฐกำลังได้รับการลบล้างการปนเปื้อนสารกัมมันตรังสี]]
 
ปฏิกิริยาระหว่างประเทศที่มีต่อภัยพิบัติมีความหลากหลายและแพร่หลาย หลายหน่วยงานระหว่างประเทศได้เสนอความช่วยเหลือทันที มักจะอยู่บนพื้นฐานที่เป็นแบบเฉพาะกิจ ผู้เสนอความช่วยเหลือรวม IAEA, องค์การอุตุนิยมวิทยาโลกและคณะกรรมาธิการเตรียมการสำหรับองค์การสนธิสัญญาการห้ามทดลองนิวเคลียร์แบบครอบคลุม<ref name="14 March 2011"/>
 
ในเดือนพฤษภาคมปี 2011 หัวหน้าผู้ตรวจการในการติดตั้งนิวเคลียร์ชาวสหราชอาณาจักรไมค์ Weightman ได้เดินทางไปยังประเทศญี่ปุ่นในฐานะผู้นำในภารกิจของผู้เชี่ยวชาญของสำนักงานพลังงานปรมาณูระหว่างประเทศ (IAEA) การค้นพบที่สำคัญของภารกิจนี้ ตามรายงานในการประชุมรัฐมนตรีของ IAEA เดือนนั้น คือความเสี่ยงที่เกี่ยวข้องกับคลื่นสึนามิในหลายพื้นที่ในญี่ปุ่นได้รับการประเมินต่ำเกินไป<ref>{{cite journal|last1=Grimes|first1=Robin|title=The UK Response to Fukushima and Anglo-Japanese Relations|journal=Science & Diplomacy|date=2014-06-16|volume=3|issue=2|url=http://www.sciencediplomacy.org/perspective/2014/uk-response-fukushima-and-anglo-japanese-relations}}</ref>
 
ในเดือนกันยายน 2011, ผู้อำนวยการทั่วไปของ IAEA นาย Yukiya Amano กล่าวว่าภัยพิบัตินิวเคลียร์ญี่ปุ่น "สร้างความวิตกกังวลของประชาชนที่ลึกทั่วโลกและทำลายความเชื่อมั่นในพลังงานนิวเคลียร์"<ref name="IAEA sees slow nuclear growth post Japan"/><ref name="lesechos"/> หลังจากเกิดภัยพิบัติ มีรายงานใน ''The Economist'' ว่า ทบวงการพลังงานปรมาณูได้ลดการประมาณการกำลังการผลิตไฟฟ้านิวเคลียร์เพิ่มเติมที่จะสร้างขึ้นภายในปี 2035 ลงครึ่งหนึ่ง<ref name="economist-20110428"/>
 
ในควันหลง เยอรมนีได้เร่งแผนการที่จะปิดเครื่องปฏิกรณ์นิวเคลียร์ของประเทศและตัดสินใจที่จะเลิกส่วนที่เหลือภายในปี 2022<ref name="Merkel se despide de lo nuclear y anuncia una revolución en renovables"/> อิตาลีได้จัดทำประชามติระดับชาติ ซึ่งร้อยละ 94 โหวตค้านกับแผนของรัฐบาลที่จะสร้างโรงไฟฟ้​​านิวเคลียร์แห่งใหม่<ref name="Italy nuclear: Berlusconi accepts referendum blow"/> ในฝรั่งเศส ประธานาธิบดี Hollande ได้ประกาศความตั้งใจของรัฐบาลที่จะลดการใช้พลังงานนิวเคลียร์ลงหนึ่งในสาม อย่างไรก็ตาม จนถึงขณะนี้รัฐบาลได้จัดสรรโรงไฟฟ้าเพียงหนึ่งโรงเท่านั้นให้มีการปิด - โรงไฟฟ้าชายแดนเยอรมันที่ Fessenheim ซึ่งใช้งานมานาน - ซึ่งทำให้บางคนตั้งคำถามถึงความมุ่งมั่นของรัฐบาลที่มีต่อสัญญาของประธานาธิบดี Hollande รัฐมนตรีว่าการกระทรวงอุตสาหกรรม Arnaud Montebourg มีบันทึกว่าได้พูดว่า Fessenheim จะเป็นโรงไฟฟ้าพลังงานนิวเคลียร์เพียงแห่งเดียวที่จะถูกปิด
 
ในการไปเยือนประเทศจีนในเดือนธันวาคม เขาให้ความมั่นใจอีกครั้งกับผู้ฟังของเขาว่าพลังงานนิวเคลียร์เป็น "ภาคของอนาคต" และจะยังคงมีส่วนร่วมต่อไป "อย่างน้อย 50%" ของการผลิตพลังงานไฟฟ้าของฝรั่งเศส<ref>{{cite web|url=http://www.bbc.com/news/magazine-25674581|title=France struggles to cut down on nuclear power|work=BBC News|accessdate=12 June 2015}}</ref>
 
สมาชิกอีกคนหนึ่งของพรรคสังคมนิยมของ Hollande - สส. คริสเตียน Bataille กล่าวว่าแผนการที่จะลดนิวเคลียร์ถูกฟูมฟักให้เป็นวิธีการเพื่อความมั่นคงในการรับความสนับสนุนจากกลุ่มพันธมิตรสีเขียวของเขาในรัฐสภา<ref name="France struggles to cut down on nuclear power"/>
 
แผนการใช้พลังงานนิวเคลียร์ไม่ได้ถูกทอดทิ้งในประเทศมาเลเซีย, ฟิลิปปินส์, คูเวตและบาห์เรน หรือมีการเปลี่ยนแปลงอย่างรุนแรงเช่นในไต้หวัน จีนได้ระงับโครงการพัฒนานิวเคลียร์ในเวลาสั้น ๆ แต่มีการเริ่มต้นใหม่หลังจากนั้นไม่นาน การจัดทำแผนเบื้องต้นก็เพื่อการเพิ่มการมีส่วนร่วมในนิวเคลียร์จาก 2 ไปเป็น 4 เปอร์เซนต์ของการผลิตไฟฟ้าในปี 2020 กับโปรแกรมที่เพิ่มขึ้นหลังจากนั้น พลังงานหมุนเวียนจะจ่ายร้อยละ 17 ของการผลิตไฟฟ้าของจีน, 16% ในนั้นเป็นไฟฟ้าพลังน้ำ จีนวางแผนที่จะเพิ่มการผลิตพลังงานนิวเคลียร์เป็นสามเท่าจนถึงปี 2020 และเพิ่มอีกสามเท่าระหว่างปี 2020 และปี 2030<ref>{{cite web|url=http://www.world-nuclear.org/info/country-profiles/countries-a-f/china--nuclear-power/|title=China Nuclear Power - Chinese Nuclear Energy|publisher=|accessdate=12 June 2015}}</ref>
 
โครงการนิวเคลียร์ใหม่กำลังดำเนินการในบางประเทศ บริษัท KPMG รายงานว่ามี 653 โรงงานนิวเคลียร์ใหม่มีการวางแผนหรือนำเสนอว่าจะแล้วเสร็จในปี 2030<ref>http://www.kpmg.com/Global/en/IssuesAndInsights/ArticlesPublications/Documents/nuclear-power-role-in-shaping-energy-policies-v3.pdf</ref> ภายในปี 2050 ประเทศจีนหวังที่จะมี 400-500 กิกะวัตต์ของกำลังการผลิตนิวเคลียร์ - 100 เท่ามากขึ้นกว่าที่มีในขณะนี้<ref>{{cite web|url=http://thediplomat.com/2014/10/why-china-will-go-all-in-on-nuclear-power/|title=Why China Will Go All-In on Nuclear Power|author=Shannon Tiezzi, The Diplomat|work=The Diplomat|accessdate=12 June 2015}}</ref> รัฐบาลอนุรักษ์นิยมของสหราชอาณาจักร มีการวางแผนการขยายตัวของนิวเคลียร์ที่สำคัญแม้จะมีการคัดค้านของประชาชนอย่างกว้างขวาง{{citation needed|date=June 2015}} รัสเซียก็เช่นกัน{{citation needed|date=June 2015}} อินเดียก็มีการกดดันไปข้างหน้าด้วยโครงการนิวเคลียร์ที่มีขนาดใหญ่เช่นกัน เกาหลีใต้ก็ด้วย<ref>{{cite web|url=http://www.world-nuclear.org/info/Country-Profiles/Countries-O-S/South-Korea/|title=Nuclear Power in South Korea|publisher=|accessdate=12 June 2015}}</ref> รองประธานาธิบดีอินเดีย นาย M ฮามิด อันซารีกล่าวเร็ว ๆ นี้<ref>{{cite web|url=http://indianexpress.com/article/india/latest-news/nuclear-energy-only-option-before-country-ansari/|title=Nuclear energy only option before country: Ansari|date=20 October 2012|work=The Indian Express|accessdate=12 June 2015}}</ref><ref>and Prime Minister Modi announced that India to build 10 more nuclear reactors with Russia. http://www.ibtimes.co.in/tv/modi-india-to-build-10-more-nuclear-reactors-with-russia-28373</ref>
 
=== การสืบสวน ===
 
== อ้างอิง ==