ผลต่างระหว่างรุ่นของ "ความกลัว"

เนื้อหาที่ลบ เนื้อหาที่เพิ่ม
Dolkungbighead (คุย | ส่วนร่วม)
ไม่มีความย่อการแก้ไข
Dolkungbighead (คุย | ส่วนร่วม)
ไม่มีความย่อการแก้ไข
บรรทัด 6:
 
ในมนุษย์และสัตว์ ความกลัวเกิดขึ้นจากกระบวนการ[[ประชาน]]และเรียนรู้ ดังนั้นความกลัวจึงสามารถประเมินได้ว่า[[ความมีเหตุผล|มีเหตุผล]]หรือเหมาะสม และ[[ความไม่มีเหตุผล|ไม่มีเหตุผล]]หรือไม่เหมาะสม ความกลัวที่ไม่มีเหตุผลเรียกว่า [[โรคกลัว]] (phobia)
 
นักจิตวิทยาหลายคน เช่น [[จอห์น บี. วัตสัน]] [[โรเบิร์ต พลุตชิก]] และ[[พอล เอ็กแมน]] แนะว่ามีอารมณ์พื้นฐานหรืออารมณ์ที่มีตั้งแต่เกิดอยู่จำนวนหนึ่ง หนึ่งในนั้นคือความกลัว กลุ่มความรู้สึกที่เป็นสมมุติฐานนี้รวมถึงอารมณ์ต่าง ๆ เช่น [[ความสุข]] [[ความเศร้า]] ความสยองขวัญ [[ความตื่นตระหนก]] [[ความกังวล]] [[ปฏิกิริยาเฉียบพลันต่อความเครียด]] และ[[ความโกรธ]]
 
ความกลัวมีความหมายใกล้เคียงกับ "ความกังวล" แต่แตกต่างกัน โดยความกังวลเกิดขึ้นเป็นผลจากภัยคุกคามที่รับรู้ว่าควบคุมไม่ได้หรือหลีกเลี่ยงไม่ได้<ref>Öhman, A. (2000). "Fear and anxiety: Evolutionary, cognitive, and clinical perspectives". In M. Lewis & J. M. Haviland-Jones (Eds.). ''Handbook of emotions''. pp. 573–593. New York: The Guilford Press.</ref>