ผลต่างระหว่างรุ่นของ "พระผู้สร้าง"

เนื้อหาที่ลบ เนื้อหาที่เพิ่ม
Nullzerobot (คุย | ส่วนร่วม)
ลบลิงก์ที่ซ้ำซ้อน wikidata
ไม่มีความย่อการแก้ไข
บรรทัด 19:
[[ศาสนาพราหมณ์]]-[[ฮินดู]]มีพัฒนาการความเชื่อเรื่องตำนานการสร้างโลกมายาวนานดังระบุไว้ในคัมภีร์ต่าง ๆ โดยแต่ละคัมภีร์จะให้ข้อมูลแตกต่างกันไป
 
คัมภีร์[[พระเวท]]ระบุว่า [[พรหมัน]]สร้างน้ำและใส่พีชะลงไป เกิดเป็นหิรัณยครรภ์ [[พระพรหม]]อุบัติขึ้นจากครรภ์นี้แล้วสร้างสรรพสิ่งต่อมาจนแล้วเสร็จเป็น 1 วันพระพรหม จากนั้นจึงบรรทมไป จนกระทั่งโลกแตกสลายไปด้วยไฟบรรลัยกัลป์ คงเหลือแต่[[พรหมฤๅษี]] [[เทวดา]]ทั้งหลาย และธาตุทั้ง 5 คือ ดิน น้ำ ไฟ ลม และอากาศ พระพรหมก็ตื่นจากบรรทมแล้วสร้างโลกขึ้นใหม่อีกครั้งแล้วบรรทมอีก จนกระทั่งเกิดไฟบรรลัยกัลป์อีกครั้ง เป็นเช่นนี้จนครบ 100 ปีพระพรหมจะเกิดมหาประลัย คือทุกสรรพสิ่งไม่เว้นแม้แต่พระพรหมจะถูกทำลายหมดสิ้นกลับไปสู่ธาตุดั้งเดิม<ref>[[ราชบัณฑิตยสถาน]], ''พจนานุกรมศัพท์ศาสนาสากล อังกฤษ-ไทย ฉบับราชบัณฑิตยสถาน'', พิมพ์ครั้งที่ 3, ราชบัณฑิตยสถาน, 2552, หน้า 111-112</ref>
 
ต่อมาได้เกิดความเชื่อเรื่อง[[ตรีมูรติ]]ขึ้นหลังพุทธศตวรรษที่ 8 โดยถือว่ามหาเทพมี 3 องค์ คือ[[พระพรหม]] [[พระวิษณุ ]]และ[[พระศิวะ]] และเชื่อว่า[[พระพรหม]]คือพระผู้สร้างโลก ต่อมาได้เกิด[[ลัทธิไวษณพ]]ขึ้น ซึ่งถือเอาพระวิษณุเป็นพระเป็นเจ้าแท้จริงเพียงพระองค์เดียว เป็นผู้สร้างพระพรหม มอบหมายให้ทำหน้าที่สร้างโลก ฝ่ายผู้นับถือพระศิวะก็ได้พัฒนา[[ลัทธิไศวะ]]ขึ้นมาเช่นกัน โดยยกย่อง[[พระศิวะ]]เป็นพระเจ้า และถือว่าการที่พระศิวะทำลายล้างโลกก็เพื่อให้เกิดการสร้างสรรค์โลกขึ้นใหม่ ดังนั้นพระศิวะจึงเป็นพระผู้สร้างด้วย<ref>ราชบัณฑิตยสถาน, หน้า 533-535</ref>
บรรทัด 28:
== อ้างอิง ==
{{รายการอ้างอิง}}
 
==บรรณานุกรม==
*{{cite book| title=พจนานุกรมศัพท์ศาสนาสากล อังกฤษ-ไทย ฉบับราชบัณฑิตยสถาน (พิมพ์ครั้งที่ 3)|first= ราชบัณฑิตยสถาน |last= |publisher=องค์การค้าของคุรุสภา |year=2552 |isbn=}}
 
{{เรียงลำดับ|ผู้สร้าง}}