ผลต่างระหว่างรุ่นของ "ภาษากวางตุ้งมาตรฐาน"

เนื้อหาที่ลบ เนื้อหาที่เพิ่ม
Octahedron80 (คุย | ส่วนร่วม)
Octahedron80 (คุย | ส่วนร่วม)
ไม่มีความย่อการแก้ไข
บรรทัด 1:
{{Infobox Language
| name = ภาษาจีนกวางตุ้งมาตรฐาน
| nativename = 廣州話 / 广州话 ''Gwóngjàu wá''<ref>Yale romanization scheme for Standard Cantonese of Cantonese. For other native names, see section "[[#Names|Names]]."</ref>
| familycolor = Sino-Tibetan
บรรทัด 9:
| fam2 = [[ภาษากลุ่มจีน]]
| fam3 = [[ภาษาจีน]]
| fam4 = [[ภาษาจีนกวางตุ้ง]]
| fam5 = Yuehai
| nation = เป็นภาษาทางการใน[[ฮ่องกง]] และ[[มาเก๊า]]เป็นภาษาถิ่นใน[[สุรินาเม]]
| iso1 = zh|iso2b=chi|iso2t=zho|iso3=yue}}
'''ภาษาจีนกวางตุ้งมาตรฐาน''' หรือ '''สำเนียงกวางเจา''' คือ[[สำเนียง]]ของ[[ภาษาจีนกวางตุ้ง]]ที่เป็นที่ยอมรับให้เป็นสำเนียงมาตรฐาน ใช้เป็นภาษาราชการที่พูดกันใน[[ฮ่องกง]]และ[[มาเก๊า]] ทั้งในรัฐบาลและการเรียนการสอนในโรงเรียน ภาษานี้เป็นภาษาประจำถิ่นของเมือง[[กวางเจา]] [[มณฑลกวางตุ้ง]] และบริเวณโดยรอบทางตอนใต้ของ[[ประเทศจีน]]
 
== สัทวิทยา ==
ภาษาจีนกวางตุ้งมาตรฐานสามารถประสม[[ต้นพยางค์]] (พยัญชนะต้น) กับ[[ท้ายพยางค์]] (สระและพยัญชนะสะกด) ได้ประมาณ 630 เสียง โดยไม่นับเสียงวรรณยุกต์
 
=== ต้นพยางค์ ===
บรรทัด 83:
ในกลุ่มเสียงฐานฟันหรือปุ่มเหงือกสามารถเปลี่ยนแปรไปได้ {{IPA|/t/}} กับ {{IPA|/tʰ/}} จะอยู่ที่ฐานฟัน ในขณะที่ {{IPA|/t͡s/}}, {{IPA|/t͡sʰ/}}, {{IPA|/s/}} ซึ่งปกติแล้วมักจะออกเสียงที่ฐานปุ่มเหงือก ({{IPA|[t͡s]}}, {{IPA|[t͡sʰ]}}, {{IPA|[s]}}) แต่สามารถออกเสียงเป็นฐานหลังปุ่มเหงือก ({{IPA|[t͡ʃ]}}, {{IPA|[t͡ʃʰ]}}, {{IPA|[ʃ]}}) หรือฐานปุ่มเหงือก-เพดานแข็ง ({{IPA|[t͡ɕ]}}, {{IPA|[t͡ɕʰ]}}, {{IPA|[ɕ]}}) โดยเฉพาะเมื่อประสมกับเสียงสระ {{IPA|/iː/}}, {{IPA|/ɪ/}}, หรือ {{IPA|/yː/}}
 
ผู้ที่พูดภาษาจีนกวางตุ้งมาตรฐานบางคนไม่สามารถแยกแยะความแตกต่างระหว่าง {{IPA|/n/}} กับ {{IPA|/l/}} โดยจะออกเสียงเป็น {{IPA|/l/}} และระหว่าง {{IPA|/ŋ/}} กับหน่วยเสียงว่าง ซึ่งก็จะออกเสียงแต่หน่วยเสียงว่าง
 
=== ท้ายพยางค์ ===
[[ไฟล์:Cantonese vowel chart.svg|thumb|220px|เสียงสระในภาษาจีนกวางตุ้งมาตรฐาน]]
{| class="wikitable" style="text-align:center;"
|
บรรทัด 183:
 
=== วรรณยุกต์ ===
เสียงวรรณยุกต์ในภาษาจีนกวางตุ้งมาตรฐานมี 6 เสียง ถึงแม้ว่าการเรียนการสอนดั้งเดิมสอนว่ามี 9 เสียง แต่ก็มี 3 เสียงที่ซ้ำกัน ซึ่งขึ้นอยู่กับว่าพยางค์นั้นเป็นพยางค์เปิด ([[คำเป็น]]) หรือพยางค์ปิด ([[คำตาย]])
 
{| class="wikitable" style="text-align:center;"