ผลต่างระหว่างรุ่นของ "เชียงใหม่ไนท์ซาฟารี"

เนื้อหาที่ลบ เนื้อหาที่เพิ่ม
Setawut (คุย | ส่วนร่วม)
ไม่มีความย่อการแก้ไข
BotKung (คุย | ส่วนร่วม)
เก็บกวาดบทความด้วยบอต
บรรทัด 25:
ในเชียงใหม่ไนท์ซาฟารี ในบางบริเวณจะมีการปล่อยสัตว์ที่ไม่เป็นอันตรายให้สามารถเดินและใช้ชีวิตอย่างอิสระ ทำให้นักท่องเที่ยวสามารถชมและสัมผัสสัตว์อย่างใกล้ชิด อาทิเส้นทางระหว่างประตูทางเข้าสวนสัตว์จนถึงทางเข้าอาคารหลัก จะมีการปล่อย[[เก้ง]]และ[[กวาง]]ไว้อยู่ถาวร รวมทั้งในบางช่วงของเส้นทางของในโซนเหนือและใต้
 
== ประวัติ ==
== ความเป็นมา ==
เชียงใหม่ไนท์ซาฟารีเป็นสวนสัตว์ที่เกิดขึ้นตามแนวคิดของ นายกรัฐมนตรี [[ทักษิณ ชินวัตร]] <ref name = h/> เขาได้ริเริ่มแนวคิดให้มีการศึกษาเพื่อจัดตั้ง สวนสัตวกลางคืนเชียงใหม่ เนื่องจากเห็นว่าเป็นรูปแบบหน่ึงหน่งของการท่องเที่ยวเชิงคุณภาพ เป็นที่นิยมของนักท่องเที่ยว ดัง เช่นของประเทศสิงคโปร์ซึ่งประสบความสาเร็จและมีชื่อเสียงระดับโลก เมื่อมีแนวคิดดังกล่าวเกิดข้ึนข้น นายกรัฐมนตรีจึงแจ้งผ่านนายโกสินทร์ เกษทอง ผู้ว่าราชการจังหวัดเชียงใหม่ในขณะน้ันน้น เพื่อหาสถานที่เหมาะสมรองรับ ระยะแรกมีผู้เสนอพื้นที่ป่าไม้หลายจุด เช่นบริเวณป่าไม้ในเขตอำเภอดอยสะเก็ด แต่ท่ีท่สุดคณะทำงานหาพื้นที่ก็ที่ได้ข้อยุติที่บริเวณเชิงดอยสุเทพ ซึ่งจุดท่ีดีท่ีท่ดีท่สุดอยู่ในเขตตำบลแม่เหียะ อำเภอเมืองเชียงใหม่ ซึ่งอยู่ในเขต[[อุทยานแห่งชาติดอยสุเทพ-ปุย]] เนื่องจากมีสภาพภูมิประเทศท่ีท่ดีกว่าสิงคโปร์
 
สำนักนายกรัฐมนตรี ได้มีคำส่ังที่ส่งที่ 90/2545 ลงวันที่ 25 มีนาคม พ.ศ. 2545 แต่งตั้งคณะกรรมการศึกษาการจัดตั้งสวนสัตว์กลางคืนจังหวัดเชียงใหม่และกิจกรรมท่ีเก่ียวท่เก่ยวเนื่องเพื่อส่งเสริมการท่องเที่ยว (สสค.) และได้มีมติคณะรัฐมนตรีเมื่อวันท่ีท่ 28 ตุลาคม 2546 อนุมติงบประมาณโครงการ "เชียงใหม่ไนท์ซาฟารี" วงเงิน 1,155.9 ล้านบาท ให้กระทรวงทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดล้อม โดย[[กรมอุทยานแห่งชาติ สัตว์ป่า และพันธุ์พืช]] เป็นหน่วยเบิกจ่ายงบประมาณ ดำเนินการก่อสร้างโดยกรมการทหารช่าง
 
9 กันยายน 2547 สำนักนายกรัฐมนตรีได้มีคำสั่งที่ 224/2547 จัดตั้งสำนักงานบริหารโครงการเชียงใหม่ไนทซ์าฟารี โดยมี นาย[[ปลอดประสพ สุรัสวดี]] เป็นผู้อำนวยการ และให้เชียงใหม่ไนท์ซาฟารีเป็นหน่วยงานภายใต้[[องค์การบริหารการพัฒนาพื้นที่พิเศษเพื่อการท่องเที่ยวอย่างยั่งยืน (องค์การมหาชน)]]
 
นายกรัฐมนตรี ทักษิณ ชินวัตร มีความประสงคให้ดำาเนินโครงการแล้วเสร็จภายในระยะเวลา 2 ปี คือตั้งแต่เดือนมิถุนายน 2546 ถึงเดือนมีนาคม 2548 ดังนั้นการดำเนินงานทั้งหมดจึงดำเนินงานภายใต้ระบบ Fast Track หรือการทางานเหลื่อมเวลา เช่น ขณะที่ จัดทำแผนแม่บท ก็ให้จัดทำรายละเอียดของโครงการ ในขณะเดียวกันก็ดำเนินการก่อสร้างโครงสร้าง พื้นฐานไปพลางก่อน โดยไม่ต้องรอแผนแม่บท ขณะที่การงบประมาณให้ทำงานไปก่อนและหาเงิน จากส่วนอื่นมา ส่วนเงินงบประมาณท่ีท่ต้องมีการขอตามขั้นตอนระบบราชการก็ต้องทำคู่ขนานกัน ไป
 
== บริเวณ ==