ผลต่างระหว่างรุ่นของ "ประเทศบังกลาเทศ"

เนื้อหาที่ลบ เนื้อหาที่เพิ่ม
ไทๆ (คุย | ส่วนร่วม)
ไม่มีความย่อการแก้ไข
บรรทัด 97:
* อุณหภูมิสูงสุดในเดือนกรกฎาคม ประมาณ 29.9 - 36.8 OC
* ความชื้นในกรุงธากาช่วงฤดูฝนสูงมาก
 
== การแบ่งเขตการปกครอง ==
[[ไฟล์:Bangladesh divisions english.png|thumb|left|200px|แผนที่แสดงเขตการบริหารทั้ง 6 เขตของบังกลาเทศ]]
บังกลาเทศแบ่งเป็น 7 เขตการบริหาร (administrative divisions) ซึ่งมีชื่อตามเมืองหลวงของเขต ดังนี้:
* [[ขุลนา|เขตขุลนา]] (Khulna)
* [[จิตตะกอง|เขตจิตตะกอง]] (Chittagong)
* [[ซิลเหต|เขตซิลเหต]] (Sylhet)
* [[ธากา|เขตธากา]] (Dhaka)
* [[บาริซาล|เขตบาริซาล]] (Barisal)
* [[ราชชาหิ|เขตราชชาหิ]] (Rajshahi)
* [[รังปุ|เขตรังปุ]] (Rangpur)
 
== การเมือง ==
เส้น 102 ⟶ 113:
[[ไฟล์:Sangshad 2.jpg|thumb|200px|Jatiyo Sangshad Bhaban]]
=== ฝ่ายนิติบัญญัติ ===
บังกลาเทศมีเพียงสภาเดียว คือ Jatiya Sangsad หรือสภาแห่งชาติ ประกอบด้วยสมาชิก 300 คน มาจากการเลือกตั้งทั่วไปทุก 5 ปี โดยมี Barrister Muhammad Jamiruddin Sircar เป็นประธานสภาแห่งชาติคนปัจจุบัน (โดยประธานสภาจะดำรงตำแหน่งเป็นรักษาหมและสามารถประกาศกฎอัยการศึก รวมทั้งสามารถยุบสภาฯ ตามที่ได้รับการเสนอโดยนายกรัฐมนตรีและแต่งตั้งรัฐบาลรักษาการประธานาธิบดีได้ หากประธานาธิบดีไม่สามารถคนปัจจุบัน คือ ดร. Iajuddin Ahmed ดำรงตำแหน่งได้)เมื่อวันที่ [[6 กันยายน]] [[พ.ศ. 2545]]
 
=== ฝ่ายบริหาร ===
ประธานาธิบดีเป็นประมุขของรัฐ มาจากการเลือกสรรโดยรัฐสภา และอยู่ในตำแหน่งคราวละ 5 ปี ปฏิบัติหน้าที่โดยได้รับคำแนะนำจากนายกรัฐมนตรี มีบทบาทหน้าที่ในด้านพิธีการ มีอำนาจในการแต่งตั้งรองประธานาธิบดี นายกรัฐมนตรี คณะรัฐมนตรี หัวหน้าคณะผู้พิพากษาและคณะผู้พิพากษา แต่เมื่ออยู่ในฐานะผู้รักษาการขณะที่ไม่มีรัฐบาล ประธานาธิบดีจะมีอำนาจเพิ่มขึ้นในการควบคุมกระทรวงกลาโหมและสามารถประกาศกฎอัยการศึก รวมทั้งสามารถยุบสภาฯ ตามที่ได้รับการเสนอโดยนายกรัฐมนตรีและแต่งตั้งรัฐบาลรักษาการได้ ประธานาธิบดีคนปัจจุบัน คือ ดร. Iajuddin Ahmed ดำรงตำแหน่งเมื่อวันที่ [[6 กันยายน]] [[พ.ศ. 2545]]
พรรคที่มีเสียงข้างมากใน[[รัฐสภา]]จะได้รับโอกาสในการจัดตั้งรัฐบาลก่อน โดยหัวหน้าพรรคที่ได้รับเสียงข้างมากจะได้รับการแต่งตั้งจากประธานาธิบดีให้ดำรงตำแหน่งนายกรัฐมนตรีและอยู่ในตำแหน่งคราวละ 5 ปี ล่าสุดพรรค Bangladesh Nationalist Party นำโดยนาง Khaleda Zia ได้รับชัยชนะในการเลือกตั้งในปี พ.ศ. 2544 และได้สิ้นสุดวาระลงเมื่อวันที่ [[27 ตุลาคม]] [[พ.ศ. 2549]]
ปัจจุบันมีรัฐบาลรักษาการโดยมี ดร. Fakhruddin Ahmed ดำรงตำแหน่งหัวหน้าที่ปรึกษารัฐบาลรักษาการ (Chief of Caretaker Government) เพื่อดูแลกระทรวงต่างๆ และเตรียมการเลือกตั้งที่จะมีขึ้นในช่วงปลายปี [[พ.ศ. 2550]]
เส้น 137 ⟶ 145:
=== ด้านต่างประเทศ ===
รัฐบาลชุดล่าสุดได้ดำเนินนโยบายต่างประเทศที่มุ่งเสริมสร้างผลประโยชน์ทางเศรษฐกิจ การดำเนินนโยบายต่างประเทศแบบมุ่งตะวันออก (Look East) โดยการกระชับความสัมพันธ์ที่ใกล้ชิดกับจีนและประเทศต่าง ๆ ในภูมิภาคเอเชียตะวันออกเฉียงใต้ อาทิ [[ประเทศไทย|ไทย]] [[ประเทศพม่า|พม่า]] และสมาชิก[[สมาคมประชาชาติแห่งเอเชียตะวันออกเฉียงใต้|อาเซียน]] ซึ่งนับเป็นมิติใหม่ของนโยบายต่างประเทศบังกลาเทศ การเดินทางเยือนภูมิภาค[[ทวีปเอเชีย|เอเชีย]]ของนายกรัฐมนตรีบังกลาเทศอย่างต่อเนื่อง นับเป็นประจักษ์พยานที่ดีต่อการเสริมสร้างนโยบายต่างประเทศที่มุ่งสนับสนุนผลประโยชน์ของบังกลาเทศใน[[ประเทศ]]ใหม่ ๆ เหล่านี้ ซึ่งการดำเนินนโยบายแบบมุ่งตะวันออกของบังกลาเทศนี้ ส่วนหนึ่งเป็นเพราะต้องการลดอิทธิพลของ[[ประเทศอินเดีย|อินเดีย]]ที่มีต่อบังกลาเทศลงด้วยนอกจากนี้ บังกลาเทศมุ่งส่งเสริมความสัมพันธ์กับ[[ตะวันออกกลาง]] ซึ่งมีบทบาทสำคัญต่อเศรษฐกิจบังกลาเทศในด้านพลังงาน การส่งออกแรงงาน และความช่วยเหลือเพื่อการพัฒนา[[ประเทศ]] และในฐานะที่เป็น[[ประเทศ]] OIC ปัจจุบัน บังกลาเทศเป็นสมาชิก BIMSTEC ACD SAARC NAM และ ARF และเป็นประเทศที่ใหญ่ที่สุดในการสนับสนุนภารกิจการรักษาสันติภาพ มี[[ทหารบังกลาเทศ]]จำนวน 9,758 ราย ปฏิบัติใน 12 ภารกิจทั่วโลก (ร้อยละ 14 ของ[[กองกำลังรักษาสันติภาพ]]ทั้งหมด) ซึ่งเป็นการส่งเสริมภาพลักษณ์ของบังกลาเทศในทางที่ดี
 
== การแบ่งเขตการปกครอง ==
[[ไฟล์:Bangladesh divisions english.png|thumb|left|200px|แผนที่แสดงเขตการบริหารทั้ง 6 เขตของบังกลาเทศ]]
บังกลาเทศแบ่งเป็น 7 เขตการบริหาร (administrative divisions) ซึ่งมีชื่อตามเมืองหลวงของเขต ดังนี้:
* [[ขุลนา|เขตขุลนา]] (Khulna)
* [[จิตตะกอง|เขตจิตตะกอง]] (Chittagong)
* [[ซิลเหต|เขตซิลเหต]] (Sylhet)
* [[ธากา|เขตธากา]] (Dhaka)
* [[บาริซาล|เขตบาริซาล]] (Barisal)
* [[ราชชาหิ|เขตราชชาหิ]] (Rajshahi)
* [[รังปุ|เขตรังปุ]] (Rangpur)
 
== ด้านเศรษฐกิจ ==