ผลต่างระหว่างรุ่นของ "ภาระรับผิดชอบ"

เนื้อหาที่ลบ เนื้อหาที่เพิ่ม
Octahedron80 (คุย | ส่วนร่วม)
Octahedron80 (คุย | ส่วนร่วม)
บรรทัด 15:
ในทางปฏิบัติของไทยพบว่า หลักภาระรับผิดชอบได้ถูกนำมาใช้อย่างจริงจังหลังการเกิด[[วิกฤตการณ์การเงินในเอเชีย พ.ศ. 2540|วิกฤติเศรษฐกิจในปี พ.ศ. 2540]] โดยสามารถพบในตัวบทกฎหมายว่าด้วยการแก้ไขเพิ่มเติมพระราชบัญญัติระเบียบบริหารราชการแผ่นดิน (ฉบับที่ 5) พ.ศ. 2545 ในมาตรา 3/1 วรรคหนึ่งและสามที่ว่า
 
''{{คำพูด|“...[[การบริหารราชการ]]ตาม[[พระราชบัญญัติ]]นี้ต้องเป็นไปเพื่อประโยชน์สุขของ[[ประชาชน]] เกิด'''ผลสัมฤทธิ์'''ต่อภารกิจของ[[รัฐ]] '''ความมี[[ประสิทธิภาพ]] ความคุ้มค่า'''ในเชิงภารกิจแห่งรัฐ '''การลดขั้นตอน'''การปฏิบัติงาน '''การลดภารกิจและยุบเลิกหน่วยงาน'''ที่ไม่จำเป็น '''การกระจายภารกิจและ[[ทรัพยากร]]ให้แก่ท้องถิ่น การกระจายอำนาจตัดสินใจ''' การอำนวย'''ความสะดวก''' และ'''การตอบสนองความต้องการของ[[ประชาชน]]''' ทั้งนี้ โดยมีผู้รับผิดชอบต่อผลของงาน…งาน...
 
ในการปฏิบัติหน้าที่ของ[[ส่วนราชการ]] ต้องใช้'''วิธีการบริหารกิจการบ้านเมืองที่ดี''' โดยเฉพาะอย่างยิ่งให้คำนึงถึง'''ความรับผิดชอบ'''ของผู้ปฏิบัติงาน '''การมีส่วนร่วม'''ของ[[ประชาชน]] '''การเปิดเผยข้อมูล การติดตามตรวจสอบและประเมินผล'''การปฏิบัติงาน ทั้งนี้ ตามความเหมาะสมของแต่ละภารกิจ...”'' (เน้นโดยผู้เขียน)|<ref>พระราชบัญญัติระเบียบราชการแผ่นดิน (ฉบับที่ 5) พ.ศ. 2545 เข้าถึงวันที่ 1 พฤษภาคม 2558 ใน http://hpe4.anamai.moph.go.th/hpe/data/competency/gov_law2545.pdf</ref>}}
 
อย่างไรก็ดี การปฏิบัติของระบบราชการไทยยังคงมีปัญหาอยู่มาก ซึ่งสามารถจำแนกได้ดังนี้