ผลต่างระหว่างรุ่นของ "พระอรหันต์"

เนื้อหาที่ลบ เนื้อหาที่เพิ่ม
ไม่มีความย่อการแก้ไข
ไม่มีความย่อการแก้ไข
บรรทัด 1:
{{พุทธศาสนา}}
{{ความหมายอื่น||สัตว์หิมพานต์|อรหัน}}
ใน[[ศาสนาพุทธ]] '''พระอรหันต์''' (''พระ-อะ-ระ-หัน''; {{lang-pi|arahant}}; {{lang-sa|अर्हत्}} ''arhat'') คือ พระ[[อริยบุคคล]]ชั้นสูงสุดใน<ref>{{อ้างหนังสือ|ผู้แต่ง = [[ศาสนาพุทธราชบัณฑิตยสถาน]]|ชื่อหนังสือ = [[พจนานุกรม ฉบับราชบัณฑิตยสถาน พ.ศ. 2554]] เฉลิมพระเกียรติพระบาทสมเด็จพระเจ้าอยู่หัว เนื่องในโอกาสพระราชพิธีมหามงคลเฉลิมพระชนมพรรษา 7 รอบ 5 ธันวาคม 2554|URL = |จังหวัด = กรุงเทพฯ|พิมพ์ที่ = ราชบัณฑิตยสถาน|ปี = 2556|ISBN = 978-616-7073-56-9|จำนวนหน้า = 1,544|หน้า=1,378}}</ref> สามารถละ[[สังโยชน์]]ได้ครบ 10 ประการ
 
== ประเภท ==
บรรทัด 7:
# '''พระอรหันต[[สัมมาสัมพุทธเจ้า]]''' หรือ '''[[พระพุทธเจ้า]]''' คือผู้[[ตรัสรู้]]แล้วได้ก่อตั้ง[[ศาสนาพุทธ]] สามารถโปรด[[เวไนยสัตว์]]ให้หลุดพ้นเป็นพระอรหันต์ตามได้
# '''[[พระปัจเจกพุทธเจ้า]]''' คือผู้ตรัสรู้แล้ว แต่ไม่ประกาศศาสนา ไม่มีสาวก เกิดขึ้นเฉพาะในยุคที่ไม่มีพระพุทธศาสนาเท่านั้น
# '''พระอรหันต[[สาวกอนุพุทธะ|พระอรหันตสาวก]]''' คือสาวกผู้บรรลุเป็นพระอรหันต์ จากการปฏิบัติตามธรรมวินัยของพระพุทธเจ้า
 
;พระอรหันต์ 2 คือ<ref>[http://www.84000.org/tipitaka/attha/attha.php?b=25&i=7&p=2 พรรณนาคาถาว่า เย ปุคฺคลา], อรรถกถาขุททกนิกาย ขุททกปาฐะ รัตนสูตรในขุททกปาฐะ พรรณนารัตนสูตร</ref><ref>{{อ้างหนังสือ| ผู้แต่ง = [[พระพรหมคุณาภรณ์ (ประยุทธ์ ปยุตฺโต)]]| ชื่อหนังสือ = พจนานุกรมพุทธศาสตร์ ฉบับประมวลธรรม| URL = http://www.84000.org/tipitaka/dic/d_item.php?i=61| จังหวัด = พิมพ์ครั้งที่ 18, กรุงเทพฯ| พิมพ์ที่ = มูลนิธิการศึกษาเพื่อสันติภาพพระธรรมปิฎก (ป. อ. ปยุตฺโต)| ปี = 2553| ISBN = 974-8357-89-9| จำนวนหน้า = | หน้า = 79-80}}</ref>
;พระอรหันต์ 2 คือ
# '''วิปัสสนยานิกสุกขวิปัสสก''' ผู้เจริญวิปัสสนาล้วน แล้วได้ฌานในภายหลังปฐมฌานเมื่อบรรลุอรหัตตผล เรียกอีกอย่างว่า''วิปัสสนายานิก''
# '''สมถยานิก''' ผู้มีสมถะเป็นญาณ ผู้เจริญสมถะกรรมฐาน จนได้ฌานก่อนแล้ว จึงเจริญวิปัสสนาต่อจนบรรลุอรหัตตผล เรียกอีกอย่างว่า''อุภโตภาควิมุต''
 
;พระอรหันต์ 4 คือ
# '''สุกขวิปัสสก''' ผู้เจริญวิปัสสนาล้วน
# '''สุกขวิปัสสก''' (ไม่มีญาณวิเศษใดๆ นอกจากรู้การทำอาสวะให้สิ้นไป (อาสวักขยญาณ) อย่างเดียว) อานิสงค์จากการที่ปฏิบัติวิปัสสนาเพียงอย่างเดียว
# '''เตวิชชะ''' ผู้ได้[[วิชชา]] 3
# '''เตวิชชะ''' (ผู้ได้วิชชา 3 คือบุพเพนิวาสานุสสติญาณ (รู้ระลึกชาติได้) [[จุตูปปาตญาณ]] (รู้จุติและอุบัติของสัตว์ทั้งหลาย)อันเป็นที่เกิดจากการเข้าใจในกฎแห่งกรรมอย่างแท้จริงจึงรู้เหตุการณ์ที่จะเป็นไปได้ทั้งสิ้น อาสวักขยญาณ (รู้ทำอาสวะให้สิ้น) อานิสงค์จากการที่ปฏิบัติวิปัสสนา และถือวัตร[[ธุดงค์]]
# '''ฉฬภิญญะ''' ผู้ได้[[อภิญญา]] 6
# '''ฉฬภิญญะ''' (ผู้ได้อภิญญา 6 คือ[[ทิพฺพจักขุ]] ตาทิพย์ (คือฤทธิที่สามารถหยั่งรู้เหตุการณ์ใกล้ไกลได้ มีพระอนุรุทธะ เป็นเอกทัคคะ เลิศกว่าภิกษุทั้งหลายในด้านการมีตาทิพย์ คือสามารถมองเห็นโลกใบนี้ ราวกับ มองเม็ดมะขามป้อมบนฝ่ามือ) [[ทิพยโสต]] หูทิพย์[[อิทธิวิธี]] แสดงฤทธิ์ได้ (โดยเฉพาะ[[มโนมยิทธิ]]การแยกร่างและจิต เป็นฤทธิที่แสดงได้เฉพาะพระอรหันต์ประเภทฉฬภิญโญเท่านั้น ) เจโตปริยญาณ (ทายใจผู้อื่นได้) บุพเพนิวาสานุสสติญาณ (ระลึกชาติได้ ) และอาสวักขยะญาณ (ญานที่ทำให้อาสวะสิ้นไป) อานิสงค์จากการปฏิบัติวิปัสสนาและเจริญสมาธิจนได้ฌานสมาปัตติ
# '''ปฏิสัมภิทัปปัตตะ''' ผู้บรรลุ[[ปฏิสัมภิทา]] 4
# '''ปฏิสัมภิทัปปัตตะ''' (ผู้บรรลุปฏิสัมภิทา 4) คือแตกฉานในความรู้อันยิ่ง 4 ประการ ได้แก่ [[อัตถปฏิสัมภิทา]] ความแตกฉานในอรรถ [[ธัมมะปฏิสัมภิทา]]ความแตกฉานในธรรม [[นิรุตติปฏิสัมภิทา]]ความแตกฉานในภาษา [[ปฏิภาณปฏิสัมภิทา]] ความแตกฉานในปฏิภาณไหวพริบ
 
;พระอรหันต์ 5 คือ
บรรทัด 39:
* [[พระอริยบุคคล]]
 
[[หมวดหมู่:อริยบุคคลพระอรหันต์| ]]
[[หมวดหมู่:อภิธานศัพท์ศาสนาพุทธ]]