ผลต่างระหว่างรุ่นของ "ปฏิจจสมุปบาท"

เนื้อหาที่ลบ เนื้อหาที่เพิ่ม
ย้อนการแก้ไขของ 119.42.91.23 (พูดคุย) ไปยังรุ่นก่อนหน้าโดย JBot
ไม่มีความย่อการแก้ไข
บรรทัด 1:
{{พุทธศาสนา}}
'''ปฏิจจสมุปบาท''' (/ปะติดจะสะหฺมุบบาด/) ({{lang-pi|Paticcasamuppāda}}; {{lang-sa|Pratītyasamutpāda}}) เป็นชื่อ[[พระธรรม]]หัวข้อหนึ่งใน[[ศาสนาพุทธ]] เรียกอีกอย่างว่า '''อิทัปปัจจยตา''' หรือ '''ปัจจยาการ''' เป็นหลักธรรมที่อธิบายถึงการเกิดขึ้นพร้อมแห่งธรรมทั้งหลายเพราะอาศัยกัน, การที่สิ่งทั้งหลายอาศัยกันจึงเกิดมีขึ้น เช่น ทุกข์เกิดขึ้นเพราะมีปัจจัย 12 เรื่องเกิดขึ้นสืบ ๆ เนื่องกันมาตามลำดับดังนี้ คือ
 
 
นิยามปฏิจจสมุปบาท
 
อธิบายถึง การเกิดขึ้นพร้อมแห่งธรรมทั้งหลายเพราะอาศัยกัน, การที่สิ่งทั้งหลายอาศัยกันจึงเกิดมีขึ้น เช่น ทุกข์เกิดขึ้นเพราะมีปัจจัย 12 เรื่องเกิดขึ้นสืบ ๆ เนื่องกันมาตามลำดับดังนี้ คือ
 
* เพราะ[[อวิชชา]]เป็นปัจจัย [[สังขาร]]จึงมี
เส้น 24 ⟶ 19:
หากแสดงย้อนกลับจากปลายมาหาต้น จากผลไปหาเหตุปัจจัย เช่น ชรามรณะเป็นต้น มีเพราะชาติเป็นปัจจัย ชาติมีเพราะภพเป็นปัจจัย ฯลฯ สังขารมีเพราะอวิชชาเป็นปัจจัย ดังนี้ เรียกว่า ปฏิโลมเทศนา
 
=== ลำดับแห่งปฏิจจสมุปบาทฝ่ายดับทุกข์ ===
 
[[ทุกข์|ความทุกข์]] จะดับไปได้เพราะ [[ชาติ]] (การเกิดอัตตา"ตัวตน"คิดว่าตนเป็นอะไรอยู่) ดับ
เส้น 67 ⟶ 62:
 
== ข้อความอ้างอิง ==
<small>จาก มหานิทานสูตร พระไตรปิฎก เล่มที่ ๑๐</small>
 
''ข้าแต่พระองค์ผู้เจริญ น่าอัศจรรย์ ไม่เคยมีมา ข้าแต่พระองค์ผู้เจริญ ปฏิจจสมุบาทนี้ลึกซึ้งสุดประมาณ และปรากฏเป็นของลึก ก็แหละถึงจะเป็นเช่นนั้น ก็ยังปรากฏแก่ข้าพระองค์ เหมือนเป็นของตื้นนัก ฯ''
เส้น 75 ⟶ 70:
''ดูกร[[อานนท์]] เพราะอวิชชาเป็นปัจจัยจึงเกิดสังขาร เพราะสังขารเป็นปัจจัยจึงเกิดวิญญาณ เพราะวิญญาณเป็นปัจจัยจึงเกิดนามรูป เพราะนามรูปเป็นปัจจัยจึงเกิดสฬายตนะ เพราะสฬายตนะเป็นปัจจัยจึงเกิดผัสสะ เพราะผัสสะเป็นปัจจัยจึงเกิดเวทนา เพราะเวทนาเป็นปัจจัยจึงเกิดตัณหา เพราะตัณหาเป็นปัจจัยจึงเกิดอุปาทาน เพราะอุปาทานเป็นปัจจัยจึงเกิดภพ เพราะภพเป็นปัจจัยจึงเกิดชาติ เพราะชาติเป็นปัจจัยจึงเกิด ชรามรณะ โสกปริเทวทุกขโทมนัสอุปายาส ฯ ความเกิดขึ้นแห่งกองทุกข์ทั้งมวลนี้ย่อมมีด้วยประการฉะนี้ ฯ''
 
<small>จาก ปัจจัยสูตร พระไตรปิฎก เล่มที่ ๑๖</small>
 
''ภิกษุทั้งหลาย ความจริงแท้ ความไม่คลาดเคลื่อน ความไม่เป็นอย่างอื่น มูลเหตุอันแน่นอนในธาตุอันนั้น ดังพรรณนามาฉะนี้แล เราเรียกว่าปฏิจจสมุปบาท''
<small> (ภิกฺขเว ยา ตตฺร ตถตา อวิตถตา อนฺถตา อิทปฺปจฺจยตา อย วุจฺจติ ภิกฺขเว ปฏิจฺจสมุปฺปาโท) </small>
 
<small> (ภิกฺขเว ยา ตตฺร ตถตา อวิตถตา อนฺถตา อิทปฺปจฺจยตา อย วุจฺจติ ภิกฺขเว ปฏิจฺจสมุปฺปาโท) </small>
 
<small> (ถ้าเขียนทับศัพท์จะได้ว่า -ภิกษุทั้งหลาย [[ตถตา]] อวิตถตา อนัญญถตา หลัก[[อิทัปปัจจยตา]] ดังพรรณนามาฉะนี้แล เรียกว่าปฏิจจสมุปบาท) </small>
 
== อ้างอิง ==