ผลต่างระหว่างรุ่นของ "ความสัมพันธ์ระหว่างประเทศของไต้หวัน"

เนื้อหาที่ลบ เนื้อหาที่เพิ่ม
PaePae (คุย | ส่วนร่วม)
PaePae (คุย | ส่วนร่วม)
สาธารณรัฐจีน -> ไต้หวัน (ลดความสับสนกับจีนแผ่นดินใหญ่)
บรรทัด 1:
ปัจจุบัน สถานะของ[[สาธารณรัฐจีน]]บน[[ไต้หวัน|เกาะไต้หวัน]]ได้รับการรับรองโดยประเทศเพียง 2524 ประเทศ ดังนั้น '''ความสัมพันธ์ระหว่างประเทศของสาธารณรัฐจีน (ไต้หวัน)''' จึงเน้นเฉพาะความสัมพันธ์อย่างเป็นทางการกับประเทศที่รับรองสถานะของสาธารณรัฐจีนไต้หวัน และความสัมพันธ์ใน[[โดยพฤตินัย|เชิงพฤตินัย]]กับประเทศอื่น ๆ
 
ทางด้านสถานะทางการเมืองของไต้หวัน ซึ่งเป็นส่วนหนึ่งของสาธารณรัฐจีนนั้นมีรายละเอียดอยู่ที่ [[สถานะทางการเมืองของไต้หวัน]]
บรรทัด 63:
 
== ความสัมพันธ์กับประเทศอื่น ๆ ==
เพื่อเป็นการรักษาความสัมพันธ์ทางการทูตกับสาธารณรัฐประชาชนจีน ประเทศต่าง ๆ จึงได้จัดตั้ง 'คณะทำงานทางการค้า' หรือ 'สำนักงานตัวแทน' ขึ้นใน[[ไทเป]]สำหรับการปฏิบัติภารกิจทางด้านการค้าและกงสุล อย่างไรก็ตาม เนื่องจากความอ่อนไหวทางการเมืองทำให้งานทางด้านวีซ่ามักจะไม่ได้ดำเนินการในไต้หวันแต่จะถูกส่งต่อไปยังสถานทูตหรือสถานกงสุลที่ใกล้ที่สุดแทน และในทางกลับกัน ทางสาธารณรัฐจีนไต้หวันก็ได้ดำเนินการจัดตั้ง '''[[สำนักงานเศรษฐกิจและวัฒนธรรมไทเป]]''' หรือ '''สำนักงานตัวแทนไทเป''' ขึ้นในประเทศต่าง ๆ ด้วยเช่นกัน
 
สาธารณรัฐจีนได้ไต้หวันเข้าร่วมการแข่งขัน[[กีฬาโอลิมปิค]]และการแข่งขันกีฬานานาชาติอื่น ๆ ภายใต้ชื่อ '[[จีนไทเป]]' โดยมีการเปลี่ยนธงชาติและเพลงชาติใหม่ เนื่องจากการกดดันจากสาธารณรัฐประชาชนจีน
 
ปัญหาในเรื่องสถานะของสาธารณรัฐจีนไต้หวันนั้นยังส่งผลกระทบกับเส้นทางการบินด้วย โดยเฉพาะประเทศใน[[ยุโรป]], [[อเมริกาเหนือ]] และ[[ออสเตรเลีย]] สายการบิน[[แมนดารินแอร์ไลน์]]ซึ่งเป็นสายการบินลูกของ[[ไชน่าแอร์ไลน์]]อันเป็นสายการบินประจำชาติของสาธารณรัฐจีนไต้หวันได้ให้บริการไปยังจุดหมายปลายทางหลายแห่งในต่างประเทศแทนสายบินแม่เพื่อหลีกเลี่ยงปัญหาทางการเมือง แต่ในปี [[พ.ศ. 2538]] (ค.ศ. 1998) ไชน่าแอร์ไลน์ก็ได้เปลี่ยนเครื่องแบบพนักงานใหม่โดยไม่มีการใช้สีธงชาติของสาธารณรัฐจีนไต้หวันอีกต่อไป และเริ่มบินให้บริการไปยังต่างประเทศภายใต้ชื่อของตัวเอง
 
สายการบินประจำชาติอื่น ๆ หลายแห่งก็ได้ให้บริการเส้นทางไปยังไทเปโดยใช้ชื่อและเครื่องแบบพนักงานอื่นแทน ตัวอย่างเช่น [[บริติชแอร์เวย์]]ไม่มีเส้นทางบินระหว่าง[[ลอนดอน]]กับไทเปเลย แต่ให้บริการโดยสายการบินลูกที่ชื่อ [[บริติชเอเชียแอร์เวย์]] โดยมีตัวอักษรจีนบนหางเครื่องบินแทนรูปธงสหราชอาณาจักรที่บริติชแอร์เวย์ใช้ สายการบิน[[แควนตัส]]ของออสเตรเลียก็มีสายการบินลูกชื่อ [[ออสเตรเลียเอเชียแอร์ไลน์]] ซึ่งมีเส้นทางบินระหว่าง[[ซิดนีย์]]และไทเป และในปัจจุบันก็ใช้วิธีบินร่วมกับ[[อีวีเอแอร์]] ซึ่งเป็นสายการบินสัญชาติไต้หวัน
บรรทัด 73:
ในช่วงก่อนที่รันเวย์ที่สองของสนามบินนานาชาติโตเกียวแห่งใหม่จะสร้างเสร็จ หรือชื่อในปัจจุบันคือ [[ท่าอากาศยานนานาชาตินาริตะ]] สายการบินจากไต้หวันจะต้องบินไปลงที่[[ท่าอากาศยานนานาชาติโตเกียว]] (รู้จักกันในชื่อ "สนามบินฮะเนะดะ") เพื่อหลีกให้กับสายการบินจากสาธารณรัฐประชาชนจีนที่บินไปลงที่นะริตะ และเช่นเดียวกับสายการบินอื่น ๆ [[เจแปนแอร์ไลน์]]ก็ได้จัดตั้งสายการบินลูกชื่อ [[เจแปนเอเชียแอร์ไลน์]] เพื่อบินในเส้นทางไต้หวันแทน
 
[[รหัสโทรศัพท์ระหว่างประเทศ]]ซึ่งจะกำหนดโดย[[สหภาพโทรคมนาคมระหว่างประเทศ]]ให้กับประเทศสมาชิก ทางสาธารณรัฐจีนไต้หวันซึ่งไม่ได้เป็นสมาชิกของสหภาพ แต่ก็ได้รับการกำหนดรหัส '''886''' ให้อย่างไม่เป็นทางการ ซึ่งเป็นรหัสที่ทางสหภาพระบุไว้ว่า 'สำรอง' ทางสาธารณรัฐประชาชนจีนไม่ได้รับรองการใช้รหัสประเทศ 886 นี้ ถึงแม้ว่าจะรับรองการใช้รหัสประเทศที่กำหนดให้กับ[[ฮ่องกง]]และ[[มาเก๊า]]ก็ตาม โดยได้สำรองหมายเลขโทรศัพท์หมวด '''26''' ไว้ใช้สำหรับเมืองไทเป และหมวด '''06''' สำหรับส่วนอื่น ๆ ของไต้หวัน
 
== การเข้าร่วมเป็นสมาชิกในองค์กรนานาชาติ ==
บรรทัด 87:
 
{{ไต้หวัน}}
 
[[หมวดหมู่:สาธารณรัฐจีน]]
[[หมวดหมู่:ไต้หวัน]]