ผลต่างระหว่างรุ่นของ "วณิพก"

เนื้อหาที่ลบ เนื้อหาที่เพิ่ม
Kurino (คุย | ส่วนร่วม)
ไม่มีความย่อการแก้ไข
Kurino (คุย | ส่วนร่วม)
ไม่มีความย่อการแก้ไข
บรรทัด 1:
{{รอการตรวจสอบ}}
[[ไฟล์:Lisbon Beggar.jpg|thumb|right|250px|วณิพกผู้หนึ่งใน[[ลิสบอน|กรุงลิสบอน]] [[ประเทศโปรตุเกส]]]]
'''วณิพก''' ({{lang-en|Minstel}}) หมายถึง คนที่ขับกล่อมผู้คนที่สัญจรด้วยเสียงเพลง บางคนก็ตี[[กลอง]] เป่า[[แคน]] ตามแต่ความสามารถ ในอดีตมีการแต่ง[[เพลงขอทาน]]เพื่อร้องแลกเงินอีกด้วย<ref>[http://drunkart.blogspot.com/2013/03/blog-post_2235.html บทความวณิพกคนร้องเพลงขอทาน]</ref><ref>[http://www.numtan.com/story_2/view.php?id=52 ชีวิตต้องสู้ ของ วณิพกเฒ่า ... !!]</reF><ref>[http://nattawutsingh.blogspot.com/2013/10/blog-post_4.html วณิพก : ตัวตนและวิถีชีวิตในพื้นที่สังคมไทย[1]]</ref><ref>[http://www.arunsawat.com/board/index.php?topic=6058.0;wap2 วณิพก...ชีวิตการขอที่(พยายาม)มีการตอบแทน]</ref><ref>[http://www.bluerollingdot.org/articles/scoop/267 จาก 'วณิพก' สู่ 'นักดนตรีอาชีพ' พื้นที่คนพิการในเส้นทางแห่งเสียงเพลง]</ref>
 
== รากศัพท์ ==
 
คำว่า ”วณิพก” หรือ “วนิพก” รากศัพท์มาจากภาษาบาลี - สันสกฤตของอินเดีย ไม่ใช่คำไทยแท้ดั้งเดิม หมายถึง คนที่ร้องเพลงและคนที่บรรเลงเพลงขอทาน ในประเทศไทยเข้าใจว่าการรับเอาคำเหล่านี้มาใช้ มีความสัมพันธ์เกี่ยวข้องกับเรื่องราวในพระพุทธศาสนา โดยเห็นได้จากคัมภีร์พระไตรปิฎกในพระพุทธศาสนา ที่ได้รับอิทธิพลในการนำคำของภาษาบาลี-สันสกฤต ของอินเดียเข้ามาใช้ในสังคมไทย ดังเช่นที่ปรากฎในพระสุตันตปิฎก ในหมวดอวุฎฐิกสูตร ซึ่งพูดถึงบุคคลต่างๆที่สัมพันธ์กับการปฏิบัติทาน ได้แก่สมณะชีพราหมณ์ คนกำพร้า คนเดินทาง วณิพก และยาจก ซึ่งถือว่าเป็นชนชั้นที่ต่ำต้อย อดอยากและ เร่ร่อน ที่มนุษย์ร่วมโลกจะต้องให้การสงเคราะห์ช่วยเหลือ (พระไตรปิฏกฉบับสยามรัฐ เล่มที่ 25 บรรทัดที่ 5864-5901 ,พ.ศ.2468-2473 หน้าที่ 258-260)
 
 
==อ้างอิง==
{{รายการอ้างอิง}}
 
 
เข้าถึงจาก "https://th.wikipedia.org/wiki/วณิพก"