ผลต่างระหว่างรุ่นของ "เห่าช้าง"

เนื้อหาที่ลบ เนื้อหาที่เพิ่ม
BotKung (คุย | ส่วนร่วม)
ลบลิงก์ข้ามภาษา เพราะว่าไม่มีบทความในวิกิอังกฤษ
ไม่มีความย่อการแก้ไข
บรรทัด 1:
{{ตารางจำแนกพันธุ์
'''เห่าช้าง''' เป็น[[สัตว์เลื้อยคลาน]]ในกลุ่มตัว[[เหี้ย]] และ เป็น[[สัตว์ป่าคุ้มครอง]] ตาม [[พระราชบัญญัติสงวนและคุ้มครองสัตว์ป่า พ.ศ. 2535]] โดยชื่อ เห่าช้าง มาจากเสียงขู่ศัตรู ฟังดูคล้ายเสียงขู่ของ[[งูเห่า]] เชื่อกันว่าน้ำลายมีพิษ หากถูกกัดจะเป็นอันตรายถึงตายได้ ที่จริงแล้วเป็นความเชื่อที่ผิด
| color = pink
| name = เห่าช้าง
| image = V_rudicollis1.jpg
| image_width = 250px
| regnum = [[Animalia]]
| phylum = [[Chordate]]
| classis = [[Reptilia]]
| ordo = [[Squamata]]
| subordo = [[Sauria]]
| familia = [[Varanidae]]
| genus = ''[[Varanus]]''
| species = '''''V. rudicollis'''''
| binomial = ''Varanus rudicollis''
| binomial_authority = Gray, [[ค.ศ. 1845]]
}}
'''เห่าช้าง''' เป็น[[สัตว์เลื้อยคลาน]]ในกลุ่มตัว[[เหี้ย]] และ เป็น[[สัตว์ป่าคุ้มครอง]] ตาม [[พระราชบัญญัติสงวนและคุ้มครองสัตว์ป่า พ.ศ. 2535]] มี[[ชื่อวิทยาศาสตร์]]ว่า ''Varanus rudicollis'' โดยชื่อ เห่าช้าง มาจากเสียงขู่ศัตรู ฟังดูคล้ายเสียงขู่ของ[[งูเห่า]] เชื่อกันว่าน้ำลายมีพิษ หากถูกกัดจะเป็นอันตรายถึงตายได้ ที่จริงแล้วเป็นความเชื่อที่ผิด
 
 
== ลักษณะทั่วไป ==
ตัวจะเล็กกว่า [[เหี้ย]]ยาวประมาณ 1.3 เมตร มีสีดำเข้ม มีลายเลือนๆ ขวางลำตัว ปากแหลมและเกล็ดบนสั้น เกล็ดบนคอใหญ่เป็นแหลมๆ คล้ายหนาม[[ทุเรียน]] เฉพาะช่วงคอเกร็ดจะย้อนไปหาศีรษะ
ชอบอยู่ในป่าทึบและเดินหากินบนพื้นดิน แต่ก็ปีนต้นไม้เก่ง พบในป่าใน[[ภาคใต้]]ของ[[ประเทศไทย]]และ[[พม่า]] [[หมู่เกาะสุมาตรา]] [[บอร์เนียว]] [[มาเลเซีย]] [[ฟิลิปปินส์]] แต่ก็มีรายงานพบที่[[อุทยานแห่งชาติเขาใหญ่]] จ.[[นครราชสีมา]]ด้วย
อาหารคือ [[ไก่]] [[นก]] [[ปลา]] [[กบ]] [[เขียด]] กินได้ทั้งของสด และของเน่า
 
 
== การผสมพันธุ์ ==
ผสมพันธุ์ในช่วงเดือน[[มกราคม]]-[[มีนาคม]] โดยวางไข่ตามหลุมที่ขุดเป็นโพรง เมื่อออกไข่แล้วจะไม่ฟักไข่ ลูกฟักออกจากไข่เองตามธรรมชาติ และเมื่อลูกออกจากไข่แล้วก็จะหากินเอง
 
== อุปนิสัย ==
ผสมพันธุ์ในช่วงเดือนมกราคม-มีนาคม โดยวางไข่ตามหลุมที่ขุดเป็นโพรง เมื่อออกไข่แล้วจะไม่ฟักไข่ ลูกฟักออกจากไข่เองตามธรรมชาติ และเมื่อลูกออกจากไข่แล้วก็จะหากินเอง
ดุร้าย กว่าเหี้ยชนิดอื่น ๆ เมื่อเข้าใกล้จะขู่ การเลี้ยงในสภาพที่เลี้ยงทำได้ยาก
 
{{โครงสัตว์}}
 
 
[[หมวดหมู่:สัตว์เลื้อนคลาน]]
[[หมวดหมู่:สัตว์ป่าคุ้มครองเลื้อยคลาน]]
[[หมวดหมู่:เหี้ย]]