ผลต่างระหว่างรุ่นของ "อุณหเคมี"

เนื้อหาที่ลบ เนื้อหาที่เพิ่ม
Fern051138 (คุย | ส่วนร่วม)
อุณหเคมี
Fern051138 (คุย | ส่วนร่วม)
อุณหเคมี
บรรทัด 2:
อุณหเคมี เป็นการศึกษาพลังงานและความร้อน ที่สัมพันธ์กับปฏิกิริยาเคมี หรือการแปรรูปทางกายภาพ ปฏิกิริยาอาจปลดปล่อยหรือดูดพลังงาน และการเปลี่ยนสถานะอาจทำอย่างเดียวกัน
เช่น ในการหลอมเหลวและการเดือด อุณหเคมีมุ่งสนใจการเปลี่ยนแปลงพลังงานเหล่านี้ โดยเฉพาะอย่างยิ่งต่อการแลกเปลี่ยนพลังงานของระบบกับสิ่งแวดล้อม
 
อุณหเคมี คือ การศึกษาเกี่ยวกับการเปลี่ยนแปลงพลังงาน ที่เกิดขึ้นในกระบวนการทางกายภาพและเคมี ซึ่งการเปลี่ยนแปลงพลังงานนี้จะเกี่ยวกับความร้อน ในเรื่องนี้เราจะกล่าวถึงพื้นฐานของอุณหเคมี ที่เกี่ยวข้องกับการสังเกต การวัด และการเปลี่ยนแปลงพลังงาน ทั้งทางกายภาพและทางเคมี
ของอุณหเคมี ที่เกี่ยวข้องกับการสังเกต การวัด และการเปลี่ยนแปลงพลังงาน ทั้งทางกายภาพและทางเคมี
วัตถุประสงค์
 
เส้น 13 ⟶ 15:
4. ศึกษาเพื่อให้สามารถคำนวณหา ความเข้มข้นของสารละลายตัวอย่าง HCl ที่ใช้ในการทด
<ref>www2.nkc.kku.ac.th/kitiyaporn.w/kku_nkc/.../genchemlab-new.doc</ref>
วิธีการทำลอง
อุปกรณ์
1. บีกเกอร์ ขนาด 50 mL
2. กระบอกตวง ขนาด 100 mL
3. ชุดแคลอริมิเตอร์อย่างง่าย
4. นาฬิกาจับเวลา
5. เทอร์โมมิเตอร์
6. เครื่องชั่ง
7. ตะแกรงลวด
8. Hot plate
9. เครื่องคิดเลข
 
 
การทดลองนั้นจะถูกแบ่งออกเป็น 2ชุด
ตอนที่1 การวัดค่าความจุความร้อนของแคลอริมิเตอร์
1. ใช้กระบอกตวงตวงน้ำกลั้นในปริมาตร 50 mL แล้วเทลงในแคลอริมิเตอร์ที่แห้งสนิท
2. ใช้กระบอกตวงตวงน้ำกลั้นที่ร้อนประมาณ 50 องศา ปริมาตร 50 mL
3. บันทึกอุณหภูมิในทุก ๆ 1 นาที เป็นระยะเวลา 3 นาที ของน้ำทั้งสองพร้อมกัน
4. เมื่อถึงนาทีที่ 4 ให้เทนำอุ่นลงไปในแคลอริมิเตอร์อย่างรวดเร็ว แล้วปิดจุกให้สนิท
จากนั้นก็ใช้แท่งแก้วคน คนอย่างช้าๆ แล้วบันทึกผลอุณหภูมิในนาทีที่ 5 และต่อไปเรื่อยๆจนอุณหภูมิคงที่
5. อ่านค่าอุณหภูมิที่ได้ แล้วนำมาเขียนกราฟ
 
ตอนที่ 2 การวัดการเปลี่ยนแปลงพลังงานความร้อนของการละลายของสาร
1. ชั่งสารตัวอย่างที่เตรียมไว้ แล้วบันทึกน้ำหนัก
2. ตวงน้ำกลั้นปริมาตร 50 mL ด้วยกระบอกตวง แล้วเทลงไปในแคลอริมิเตอร์ที่แห้งสนิท
แล้วบันทึกอุณหภูมิเป็นช่วงๆ 1 นาที เป็นระยะเวลา 3 นาที
3. แล้วพอถึงนาทีที่ 4 ให้เติมสารลงไปในแคลอริมิเตอร์ แล้วปิดจุกให้สนิท ใช้แท่งแก้วคนสารอย่างช้าๆ แล้วบันทึกอุณหภูมิในนาทีที่5 และต่อๆไปจนอุณหภูมิเกือบคงที่
4. นำข้อมูลที่ได้มาเขียน
<ref>www2.nkc.kku.ac.th/kitiyaporn.w/kku_nkc/.../genchemlab-new.doc</ref>
<ref><ref>ภาควิชาเคมี คณะวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยีอุตสาหกรรม มหาวิทยาลัยสงขลานครินทร์ วิทยาเขตสุราษฎร์ธานี 937-132 คู่มือปฎิบัติการเคมีทั่วไป โรงพิมพ์ มหาวิทยาลัยสงขลนครินทร์</ref></ref>