ผลต่างระหว่างรุ่นของ "พระพุทธพจนวราภรณ์ (จันทร์ กุสโล)"

เนื้อหาที่ลบ เนื้อหาที่เพิ่ม
Poonyo (คุย | ส่วนร่วม)
เอาป้ายรอตรวจสอบหลังสังฆายนาออก
ไม่มีความย่อการแก้ไข
บรรทัด 5:
|ชื่อทั่วไป =
|สมณศักดิ์ = พระพุทธพจนวราภรณ์
|วันเกิด = 26 พฤศจิกายน พ.ศ. 2460
|วันบวช = ปีพ.ศ. 2480
|วันตาย = 11 กรกฎาคม พ.ศ. 2551
|พรรษา = 72
|อายุ = 91{{อายุปีและวัน|2460|11|26|2551|07|11}}
|วัด = วัดเจดีย์หลวงวรวิหาร
|จังหวัด = เชียงใหม่
|สังกัด = ธรรมยุติกนิกาย
|วุฒิ = น.ธ.[[นักธรรมชั้นเอก,]]<br/ > [[เปรียญธรรม 5 ประโยค]]
|ตำแหน่ง = เจ้าอาวาสวัดเจดีย์หลวง<br/ >[[เจ้าคณะภาค]] 4-5-6-7
}}
 
'''พระพุทธพจนวราภรณ์ (หลวงปู่จันทร์ กุสโล)''' [[พระราชาคณะเจ้าคณะรอง]]ฝ่าย[[ธรรมยุติกนิกาย]] อดีต[[เจ้าอาวาส]][[วัดเจดีย์หลวงวรวิหาร]] และอดีต[[เจ้าคณะภาค]] 4-5-6-7 (ธรรมยุต)

== ประวัติ ==
=== กำเนิด ===
พระพุทธพจนวราภรณ์ มีนามเดิมว่า '''จันทร์ แสงทอง''' เกิดเมื่อวันที่ 26 พฤศจิกายน พ.ศ. 2460 เป็นบุตรของ นายจารินต๊ะ และ นางแสง แสงทอง เมื่ออายุได้ 15 ปี ได้บรรพาเป็นสามเณร ณ [[วัดเจดีย์หลวงวรวิหาร]] อำเภอเมือง [[จังหวัดเชียงใหม่]] เมื่ออายุครบ 20 ปี ได้ทำการ[[อุปสมบท]] ณ วัดเจดีย์หลวงวรวิหาร ได้รับฉายาว่า “กุสโล”
พระพุทธพจนวราภรณ์ ได้มรณภาพลงเมื่อวันศุกร์ที่ [[11 กรกฎาคม]] [[พ.ศ. 2551]] ในเวลา 18.33น. ณ วัดเจดีย์หลวงวรวิหาร ด้วยโรคถุงลมโป่งพองและโรคปอด
 
=== การศึกษา ===
พระพุทธพจนวราภรณ์ ได้เข้าเรียน จนได้รับวิทยฐานะ [[นักธรรมชั้นเอก]] ในปี [[พ.ศ. 2482]] และ [[เปรียญธรรม 5 ประโยค]] ในปี พ.ศ. 2482 นอกจากนี้ยังได้รับปริญญากิตติมศักดิ์ ทางด้าน การพัฒนาจากสถาบันอุดมศึกษาที่มีชื่อเสียงหลายแห่งของไทย ได้แก่ ปริญญาศิลปศาสตรบัณฑิต กิตติมศักดิ์ สาขาพัฒนาชุมชน จาก[[มหาวิทยาลัยราชภัฏเชียงใหม่]] (พ.ศ. 2530) ปริญญาศิลปศาสตรดุษฎีบัณฑิตกิตติมศักดิ์ สาขามนุษยศาสตร์ [[มหาวิทยาลัยเชียงใหม่]] (พ.ศ. 2532) ปริญญาพัฒนบริหารศาสตรดุษฎีบัณฑิตกิตติมศักดิ์ [[สถาบันบัณฑิตพัฒนบริหารศาสตร์]] (พ.ศ. 2535) และปริญญาเทคโนโลยีการเกษตรดุษฎีบัณฑิตกิตติมศักดิ์ สาขาการวางแผนและพัฒนาชนบท จาก[[มหาวิทยาลัยแม่โจ้]] (พ.ศ. 2538) นอกจากนี้ท่านยังได้รับรางวัลเชิดชูเกียรติมากมาย อาทิ เป็นศิลปินแห่งชาติ ด้านวัฒนธรรม สาขาภูมิปัญญาชาวบ้าน และพระสงฆ์นักพัฒนาดีเด่น เป็นต้น
 
== สมณศักดิ์ ==
* 5 ธันวาคม พ.ศ. 2496 ได้รับพระราชทานสมณศักดิ์เป็น[[พระครูสัญญาบัตร]] ในราชทินนาม ที่ ''พระครูวินัยโกศล”โกศล''<ref>ราชกิจจานุเบกษา, [http://www.ratchakitcha.soc.go.th/DATA/PDF/2496/D/078/5351.PDF แจ้งความสำนักนายกรัฐมนตรี เรื่อง พระราชทานสัญญาบัตรตั้งสมณศักดิ์], เล่ม ๗๒, ตอนที่ ๙๕, ๓๑ ธันวาคม ๒๔๙๘, หน้า ๕๓๕๗</ref>
* 5 ธันวาคม พ.ศ. 2498 เป็น[[พระราชาคณะ]]ชั้นสามัญเปรียญ ในราชทินนามที่ ''พระวินัยโกศล”โกศล''<ref>ราชกิจจานุเบกษา, [http://www.ratchakitcha.soc.go.th/DATA/PDF/2498/D/095/3006.PDF แจ้งความสำนักคณะรัฐมนตรี เรื่อง พระราชทานสัญญาบัตรตั้งสมณศักดิ์], เล่ม ๗๒, ตอนที่ ๙๕, ๓๑ ธันวาคม ๒๔๙๘, หน้า ๓๐๐๘</ref>
* 5 ธันวาคม พ.ศ. 2513 เป็น[[พระราชาคณะชั้นราช]]ที่ ''พระราชวินยาภรณ์ สุนทรธรรมสาธิต ยติคณิสสร บวรสังฆาราม คามวาสี''<ref>ราชกิจจานุเบกษา, [http://www.ratchakitcha.soc.go.th/DATA/PDF/2513/D/122/1.PDF แจ้งความสำนักนายกรัฐมนตรี เรื่อง พระราชทานสัญญาบัตรตั้งสมณศักดิ์], เล่ม ๘๗, ตอนที่ ๑๒๒ ฉบับพิเศษ, ๓๑ ธันวาคม ๒๕๑๓, หน้า ๓</ref>
* พ.ศ. 2512 เป็นพระราชาคณะชั้นราช ในราชทินนามที่ “พระราชวินยาภรณ์”
* 5 ธันวาคม พ.ศ. 2526 เป็น[[พระราชาคณะชั้นเทพ]]ที่ ''พระเทพกวี เมธีธรรมโฆสิต อรรถกิจจาทร ยติคณิสสร บวรสังฆาราม คามวาสี''<ref>ราชกิจจานุเบกษา, [http://www.ratchakitcha.soc.go.th/DATA/PDF/2526/D/207/1.PDF แจ้งความสำนักนายกรัฐมนตรี เรื่อง พระราชทานสัญญาบัตรตั้งสมณศักดิ์], เล่ม ๑๐๐, ตอนที่ ๒๐๗ ฉบับพิเศษ, ๓๑ ธันวาคม ๒๕๒๖, หน้า ๒</ref>
* พ.ศ. 2526 เป็นพระราชาคณะชั้นเทพ ในราชทินนามที่ “พระเทพกวี”
* 12 สิงหาคม พ.ศ. 2535 เป็น[[พระราชาคณะชั้นธรรม]]ที่ ''พระธรรมดิลก ธรรมสาธกวิจิตราภรณ์ สุนทรพิพิธธรรมวาที ตรีปิฎกวิภูสิต ธรรมิกคณิสสร บวรสังฆาราม คามวาสี''<ref>ราชกิจจานุเบกษา, [http://www.ratchakitcha.soc.go.th/DATA/PDF/2535/D/101/1.PDF ประกาศสำนักนายกรัฐมนตรี เรื่อง พระราชทานสัญญาบัตรตั้งสมณศักดิ์], เล่ม ๑๐๙, ตอนที่ ๑๐๑ ฉบับพิเศษ, ๑๒ สิงหาคม ๒๕๓๕, หน้า ๒</ref>
* พ.ศ. 2535 เป็นพระราชาคณะชั้นธรรม ในราชทินนามที่ “พระธรรมดิลก”
* 5 ธันวาคม พ.ศ. 2544 เป็น[[พระราชาคณะเจ้าคณะรอง]]ที่ ''พระพุทธพจนวราภรณ์ อดิศรวุฒิโสภณ วิมลศีลาจารวัตร วิสุทธิธรรมปฏิบัติวินยวาท พุทธศาสน์คณาธิกร ธรรมยุตติกคณิสสร บวรสังฆาราม คามวาสี''<ref>ราชกิจจานุเบกษา, [http://www.ratchakitcha.soc.go.th/DATA/PDF/00040365.PDF พระบรมราชโองการ ประกาศสถาปนาสมณศักดิ์], เล่ม ๑๑๘, ตอนที่ ๒๔ ข, ๗ ธันวาคม ๒๕๔๔, หน้า ๑๒-๑๕</ref>
* พ.ศ. 2544 เป็นพระราชาคณะเจ้าคณะรอง ชั้นหิรัญบัฎ ในราชทินนามที่ พระพุทธพจนวราภรณ์
* พ.ศ. 2537 ท่านได้ดำรงตำแหน่ง[[เจ้าคณะภาค]] 4-5-6-7 ฝ่ายธรรมยุติ
 
== พระพุทธพจนวราภรณ์กับงานพัฒนาชนบท ==
สำหรับงานด้านการพัฒนานั้น ได้เริ่มขึ้นเมื่อปี พ.ศ. 2500 เมื่อพระพุทธพจนวราภรณ์ ได้รับ อาราธนาจากนายอำเภอเมืองเชียงใหม่ ให้ไปแสดงธรรมอบรมประชาชนในเขตอำเภอเมือง ท่านได้พบ ปัญหาเกี่ยวกับการศึกษาว่า มีนักเรียนจำนวนไม่น้อยที่จบการศึกษาชั้นประถมปีที่ 4 แล้ว แต่ไม่ได้ เรียนต่อ เนื่องจากบิดา มารดา หรือผู้ปกครองมีฐานะยากจน จึงไม่สามารถส่งเสียบุตรหลานให้เรียน ต่อได้ ท่านจึงเกิดแรงบันดาลใจ ดำเนินการก่อตั้งมูลนิธิเมตตาศึกษา และขออนุญาตจัดตั้งโรงเรียน เมตตาศึกษา ให้การศึกษาเด็กชั้นประถมปีที่ 5 จนถึงชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 3 โดยไม่เก็บค่าใช้จ่ายใด ๆ จากประสบการณ์ในการดำเนินงานโรงเรียนเมตตาศึกษามาเป็นระยะเวลา 15 ปี ท่านได้เกิดความคิด ขึ้นมาว่า การให้การศึกษาแก่นักเรียนที่พ่อแม่ผู้ปกครองมีฐานะยากจน ก็เป็นการสร้างโอกาสให้แก่ เยาวชนที่ด้อยโอกาส ให้ได้รับการศึกษามากขึ้น มีทางที่จะช่วยตัวเองและครอบครัวได้ในอนาคต แต่ในขณะเดียวกันในสังคมชนบทส่วนใหญ่ที่ยังมีปัญหาความยากจน ขาดโอกาสทางการศึกษา มีความรู้น้อย ขาดทุนทรัพย์ที่จะนำมาลงทุนประกอบอาชีพ และขาดผู้นำในการดำเนินชีวิต
 
เส้น 73 ⟶ 76:
 
ปัจจุบันมูลนิธิฯ เป็นองค์กรพัฒนาเอกชนที่ได้รับการยอมรับในการพัฒนาชนบทมากองค์กรหนึ่งทั้งในระดับภูมิภาคเดียวกัน และในระดับประเทศ รวมทั้งได้รับการยกย่องในหมู่องค์กรพัฒนาเอกชน และองค์กรสาธารณกุศลจากต่างประเทศหลายองค์กร การดำเนินงานของมูลนิธิฯ ตลอดระยะเวลายี่สิบปี ได้เป็นตัวอย่างหนึ่งของการสร้างพลังชุมชนโดยการนำหลักคำสอนทางพระพุทธศาสนามาผสมผสานกับภูมิปัญญาท้องถิ่น ได้ทำให้ชุมชนในชนบทที่เข้าร่วมโครงการมีความเข้มแข็ง ลดการพึ่งพาจากภายนอกและสามารถพึ่งตนเองได้
 
== มรณภาพ ==
พระพุทธพจนวราภรณ์ ได้มรณภาพลงเมื่อวันศุกร์ที่ [[11 กรกฎาคม]] [[พ.ศ. 2551]] ในเวลา 18.33น. ณ วัดเจดีย์หลวงวรวิหาร ด้วยโรคถุงลมโป่งพองและโรคปอด
 
== อ้างอิง ==
; เชิงอรรถ
{{รายการอ้างอิง}}
 
; บรรณานุกรม
{{เริ่มอ้างอิง}}
* '''ที่ระลึก 72 ปี พระเทพกวี 26 พฤศจิกายน 2532'''. 2532. เชียงใหม่: มูลนิธิศึกษาพัฒนาชนบท.
เส้น 83 ⟶ 92:
{{จบอ้างอิง}}
 
{{เรียงลำดับ|พุทธพจนวราภรณ์ (จันทร์ กุสโล)}}
{{เกิดปี|2460}}{{ตายปี|2551}}
[[หมวดหมู่:ภิกษุในสังกัดคณะสงฆ์ธรรมยุติกนิกาย]]
 
[[หมวดหมู่:บุคคลจากจังหวัดเชียงใหม่พระราชาคณะเจ้าคณะรอง]]
[[หมวดหมู่:พระราชาคณะเจ้าคณะรอง|พุทธพจนวราภรณ์ภาค]]
[[หมวดหมู่:เจ้าอาวาส]]
[[หมวดหมู่:เปรียญธรรม 5 ประโยค]]
[[หมวดหมู่:บุคคลจากจังหวัดเชียงใหม่]]