ผลต่างระหว่างรุ่นของ "มหาหิงคุ์"

เนื้อหาที่ลบ เนื้อหาที่เพิ่ม
Char (คุย | ส่วนร่วม)
หน้าใหม่: {{ตารางจำแนกพันธุ์ |name = มหาหิงคุ์ |image =Ferula_assa-foetida_-_Köhler–s_Medizinal-Pflanzen-061.jpg |image_captio...
 
Char (คุย | ส่วนร่วม)
บรรทัด 25:
</ref><ref name="garg">S. K. Garg, A. C. Banerjea, J. Verma and M. J. Abraham, "Effect of Various Treatments of Pulses on in Vitro Gas Production by Selected Intestinal Clostridia". ''Journal of Food Science'', Volume 45, Issue 6 (p. 1601–1602).</ref> รวมทั้งใช้เป็นยาช่วยย่อย เป็น[[ยาระบาย]]แก้อาการ[[ท้องผูก]]ได้ด้วย<ref name="Aggarwal">Hemla Aggarwal and Nidhi Kotwal. Foods Used as Ethno-medicine in Jammu. ''Ethno-Med'', 3(1): 65–68 (2009)</ref> ในไทย มหาหิงคุ์ใช้ผสมกับ[[เอทิลแอลกอฮอล์]]ทาท้องเด็กอ่อนเพื่อช่วยให้ขับลม หรืออาจจะผสมน้ำหยอดให้เด็กรับประทาน อาจใช้แก้พิษ[[ฝิ่น]]ที่สูบเข้าไปด้วยได้<ref>{{cite web|author=นิศารัตน์ ศิริวัฒนเมธานนท์|title=มหาหิงคุ์ ยาเก่าเอามาเล่าใหม่|website=คณะเภสัชศาสตร์ มหาวิทยาลัยมหิดล|url=http://www.pharmacy.mahidol.ac.th/th/knowledge/article/247/%E0%B8%A1%E0%B8%AB%E0%B8%B2%E0%B8%AB%E0%B8%B4%E0%B8%87%E0%B8%84%E0%B8%B8%E0%B9%8C%E0%B9%81%E0%B8%81%E0%B9%89%E0%B9%80%E0%B8%94%E0%B9%87%E0%B8%81%E0%B8%9B%E0%B8%A7%E0%B8%94%E0%B8%97%E0%B9%89%E0%B8%AD%E0%B8%87/}}</ref>
 
เมื่อมหาหิงคุ์ถูกนำเข้าสู่โลกตะวันตก ก็ได้มีการทดลองใช้สารละลายมหาหิงคุ์ในแอลกอฮอล์รักษาแผล <ref>Beaumont, William: '' Experiments and Observations on the Gastric Juice and the Physiology of Digestion'' (McLachlan & Stewart, Edinburgh, 1888), p.15</ref> แก้ไข้หวัด โดยมีการนำไปใช้ในการรักษาผู้ป่วยจากไข้หวัดสเปนเมื่อ พ.ศ.2461 จนในเวลาต่อมาได้มีการบรรจุลงในรายการตำรายากลางของสหรัฐอเมริกา (UPSUnited States Pharmacopeia) เพื่อใช้เป็นยาป้องกันโรคไข้หวัด<ref>{{cite web | url=http://davesgarden.com/guides/articles/view/3613/ | title=What's in your Acifidity Bag? | accessdate=2014-09-16}}</ref> ล่าสุดมีการทดลองใช้รากของมหาหิงคุ์เพื่อฆ่าไวรัสไข้หวัดใหญ่ H1N1<ref>{{cite journal|coauthors=Chia-Lin Lee, Lien-Chai Chiang, Li-Hung Cheng, Chih-Chuang Liaw, Mohamed H. Abd El-Razek, Fang-Rong Chang, Yang-Chang Wu|date=August 2009|title=Influenza A (H1N1) Antiviral and Cytotoxic Agents from Ferula assa-foetida|journal=Journal of Natural Products|volume=xxx|issue=xx|doi=10.1021/np900158f|pmid=19691312|last1=Lee|first1=CL|pages=1568–72}}</ref><ref>Ancient Chinese Remedy May Work for Flu http://www.livescience.com/health/090910-flu-remedy.html</ref>
 
ยิ่งไปกว่านั้น มหาหิงคุ์สามารถใช้ลดอาการโรค[[ลมชัก]] ได้อีกด้วย<ref>{{cite web | url=http://www.ncbi.nlm.nih.gov/pmc/articles/PMC3459456/ | title=Ferula asafoetida: Traditional uses and pharmacological activity | accessdate=2013-05-27}}</ref>
 
== ลักษณะ ==
ยางจากต้นมหาหิงคุ์ประกอบด้วยยางเหนียว 40 - 65% ยางภายในเซลล์ 25% น้ำมันหอมระเหย 10–15% โดยมีเถ้า 1.5–10% ประกอบด้วยสารสำคัญเช่น อะซาเรซิโนแทนนอล (asaresinotannol) A และ B, [[กรดเฟรูลิก]], อัมเบลลิเฟอโรน และสารอื่น ๆ<ref name="Singhal">''Handbook of Indices of Food Quality and Authenticity''. Rekha S. Singhal, Pushpa R. Kulkarni. 1997, Woodhead Publishing, Food industry and trade