ผลต่างระหว่างรุ่นของ "การฆ่าคน"

เนื้อหาที่ลบ เนื้อหาที่เพิ่ม
Dolkungbighead (คุย | ส่วนร่วม)
ไม่มีความย่อการแก้ไข
บรรทัด 3:
{{กล่องข้อมูล อาชญากรรมไทย}}
 
'''การฆ่าคน''' (murder) เป็น[[การกระทำ]]ให้มนุษย์ถึงแก่[[ความตาย]] จัดเป็น[[อาชญากรรม]]ประเภทหนึ่ง ทาง[[นิติศาสตร์]]แบ่งเป็นสองประเภท คือ [[การทำให้คนตายโดยเจตนา]] (homicide) และ[[การทำให้คนตายโดยไม่เจตนา]] (manslaughter) การฆ่าคนทั้งสองประเภท ผู้กระทำต้องระวางโทษหนักหรือเบาตามกฎหมายแล้วแต่กรณี
 
== "การฆ่าคน" และ "ฆาตกรรม" ==
บรรทัด 9:
คำว่า "การฆ่าคน" เป็นศัพท์บัญญัติของ[[ราชบัณฑิตยสถาน]] ให้ใช้แทนคำภาษาอังกฤษว่า "murder"<ref>http://rirs3.royin.go.th/coinages/webcoinage.php</ref>
 
ส่วน "ฆาตกรรม" มีความหมายตาม[[พจนานุกรมฉบับราชบัณฑิตยสถาน|พจนานุกรมมฉบับราชบัณฑิตยสถาน พ.ศ. 2542]] ว่า "การฆ่าคน" แต่มิใช่ศัพท์บัญญัติที่ทางราชการมุ่งหมายให้ใช้อย่างเป็นทางการ<ref>http://rirs3.royin.go.th/new-search/word-search-all-x.asp</ref> ทั้งนี้ "ฆาตกรรม" เป็นคำสมาสระหว่างคำ "ฆาต" (''บาลี.'' ตี, ฟาด, ฟัน, ฆ่า, ทำลาย) + "กรรม" มีความหมายตามอักษรว่า การตี, การฟาด, การฟัน, การฆ่า, การทำลาย ผู้กระทำฆาตกรรมเรียกว่า "[[ฆาตกร]]"
 
ปัจจุบันมีการใช้คำ "ฆาตกรรม" คละไปกับคำ "การฆ่าคน" ทั้งนี้ คำทั้งสองมีความหมายเดียวกันดังข้างต้น
บรรทัด 15:
== ภูมิหลังเกี่ยวกับการฆ่าคน ==
 
การถือว่าการฆ่าคนเป็นความผิดอาญา ปรากฏเป็นครั้งแรกสุดในประมวลกฎหมายพระเจ้าเออร์-นัมมู (Ur-Nammu) กษัตริย์ชาวสุเมเรียน โดยประมวลกฎหมายดังกล่าวตราขึ้นในระหว่างประมาณ 2100 ปีถึง 2050 ปีก่อน ค.ศ. มาตราหนึ่งบัญญัติไว้ว่า "ผู้ใดกระทำให้ผู้อื่นถึงแก่ความตายแล้วไซร้ ผู้นั้นต้องระวางโทษ[[ประหารชีวิต]]"
 
ใน[[ศาสนาเอบราฮัม|ศาสนาเอบราฮัม (Abrahamic Religions)]] การฆ่าคนถือเป็นสิ่งต้องห้าม โดยปรากฏอยู่ใน[[บัญญัติ 10 ประการ]]ที่พระเจ้ามอบแก่[[โมเสส]]บนยอดเขาเซนาย<ref>http://www.latinvulgate.com/verse.aspx?t=0&b=5&c=27</ref> <ref>http://www.hebrewoldtestament.com/B05C027.htm#V24</ref>
บรรทัด 29:
การฆ่าคนพิจารณาจากองค์ประกอบขั้นพื้นฐานสองประการดังต่อไปนี้
 
1.# การฆ่าคนนั้นเป็นการกระทำอันจะเป็นความผิดอาญา (''actus reus'')
2.# การฆ่าคนนั้นเป็นไปเพราะมีเจตนาร้าย (''mens rea'') พิจารณาจากวัตถุประสงค์ ความจงใจ ความหวังผลร้าย การไตร่ตรองไว้ล่วงหน้า และ/หรือการปราศจากความระมัดระวังหรือยับยั้งชั่งใจ (wanton)
 
2. การฆ่าคนนั้นเป็นไปเพราะมีเจตนาร้าย (''mens rea'') พิจารณาจากวัตถุประสงค์ ความจงใจ ความหวังผลร้าย การไตร่ตรองไว้ล่วงหน้า และ/หรือการปราศจากความระมัดระวังหรือยับยั้งชั่งใจ (wanton)
 
ทั้งนี้ โดยทั่วไป ความหวังผลร้ายมักไม่ใช้พิจารณาเป็นองค์ประกอบข้างต้นสักเท่าใด เนื่องด้วยถือว่าความจงใจที่จะฆ่าคนนั้นย่อมเกิดจากความหวังผลร้ายอยู่แล้ว และบางครั้งในการฆ่าคนที่เกิดจากการขาดความยับยั้งชั่งใจหรือในหรือคดีอุกฉกรรจ์บางประเภท ก็ถือไปโดยปริยายว่าย่อมเกิดจากความหวังผลร้ายอยู่แล้ว
เส้น 42 ⟶ 41:
 
* คำพิพากษาของศาลให้ลงโทษประหารชีวิตเป็นการสั่งให้ฆ่าคน แต่ไม่มีความผิดเนื่องจากเป็นวิถีทางที่ถูกต้องแห่งกฎหมาย (due process of law)
 
* การฆ่าปรปักษ์ (combatant) โดยคำสั่งอันชอบด้วยกฎหมายที่มีขึ้นในระหว่างภาวะสงคราม รวมตลอดถึงการฆ่าที่ไม่ชอบด้วยกฎหมายในภาวะสงคราม อาจถือเป็นการฆ่าคน และอาจถือเป็นอาชญากรรมสงคราม (แต่จะมีโทษหรือไม่นั้นขึ้นอยู่กับสภาวะแวดล้อมแล้วแต่กรณี)