ผลต่างระหว่างรุ่นของ "ดวงจันทร์ของกาลิเลโอ"

เนื้อหาที่ลบ เนื้อหาที่เพิ่ม
Medium69 (คุย | ส่วนร่วม)
ไม่มีความย่อการแก้ไข
Dolkungbighead (คุย | ส่วนร่วม)
ไม่มีความย่อการแก้ไข
บรรทัด 4:
'''ดวงจันทร์ของกาลิเลโอ''' ({{lang-en|Galilean moons}}) คือ [[ดาวบริวาร|ดวงจันทร์บริวาร]]ทั้ง 4 ดวงของ[[ดาวพฤหัสบดี]]ซึ่งถูกค้นพบโดย [[กาลิเลโอ กาลิเลอี]] ในราวเดือนมกราคม ปี ค.ศ. 1610 ดวงจันทร์ทั้ง 4 ดวงเป็นดวงจันทร์ที่ใหญ่ที่สุดในบรรดา[[ดวงจันทร์ของดาวพฤหัสบดี]] ชื่อของดวงจันทร์ทั้ง 4 ได้รับการตั้งชื่อคนรักของ [[ซูส]] ได้แก่ ''[[Io (mythology)|ไอโอ (Io)]]'' ''[[ยูโรปา|ยูโรปา (Europa)]]'' ''[[แกนีมีด (เทพปกรณัม)|แกนิมิด (Ganymede)]] ''และ [[Callisto (mythology)|''คาลลิสโต (Callisto)'']] ดวงจันทร์ทั้ง 4 เป็น[[List of moons by diameter|วัตถุที่มีมวลมากที่สุด]]ใน[[ระบบสุริยะ]]นอกเหนือจาก[[ดวงอาทิตย์]]และดาวเคราะห์ทั้งแปดดวง มันมีเส้นผ่านศูนย์กลางที่ใหญ่กว่า[[ดาวเคราะห์แคระ]]ใดๆ ดวงจันทร์สามดวงด้านใน ได้แก่ ไอโอ ยูโรปา แกนิมิด มี[[การสั่นพ้องของวงโคจร]]ที่ 1:2:4
 
ดวงจันทร์ทั้ง 4 ดวงถูกค้นพบในช่วงระหว่างปี ค.ศ. 1609 ถึง 1610 เมื่อกาลิเลโอได้ปรับปรุง[[กล้องโทรทรรศน์]]ซึ่งทำให้เขาสามารถสังเกตุสังเกตเห็นเทหฟากฟ้าได้ชัดเจนขึ้นกว่าที่ผ่านมา<ref name=Galileo89/> การค้นพบของกาลิเลโอแสดงให้เห็นถึงความสำคัญของกล้องโทรทรรศน์ในฐานะของเครื่องมือสำหรับนักดาราศาสตร์ในการช่วยให้สามารถเห็นวัตถุในอวกาศที่ไม่สามารถมองเห็นได้ด้วยตาเปล่า สิ่งสำคัญยิ่งกว่านั้นการค้นพบที่ไม่อาจโต้แย้งถึงการโคจรของดวงดาวหรือเทหฟากฟ้ารอบสิ่งอื่นๆนอกจากโลกนี้ได้สั่นคลอนอย่างรุนแรงต่อระบบโลกของปโตเลมี ([[ระบบโลกเป็นศูนย์กลาง|Ptolemaic world system]]) ที่ได้รับการยอมรับในขณะนั้น ระบบโลกของปโตเลมีเชื่อว่าโลกเป็นศูนย์กลางของจักรวาล ดาวดาวและวัตถุต่างๆโคจรรอบโลก
 
ในตอนแรกกาลิเลโอได้ตั้งชื่อสิ่งที่ค้นพบครั้งนี้ว่า ดวงดาวของคอสิโม ('''Cosmica Sidera)''' ("[[Cosimo II de' Medici, Grand Duke of Tuscany|Cosimo]]'s stars") สำหรับชื่อของดวงจันทร์ที่ใช้กันอยู่ในปัจจุบันนั้นได้รับการตั้งชื่อโดย [[Simon Marius]] ซึ่งเป็นผู้ค้นพบดวงจันทร์ทั้งสี่นี้ในช่วงเวลาเดียวกันกับกาลิเลโอ ชื่อดวงจันทร์นี้ได้รับการแนะนำจาก [[โยฮันเนส เคปเลอร์]] ซึ่งตีพิมพ์ ''Mundus Jovialis'' ในปี ค.ศ. 1614
บรรทัด 14:
ผลจากการปรับปรุง[[กล้องโทรทรรศน์]]โดยกาลิเลโอ ([[กาลิเลโอ กาลิเลอี]]) โดยการเพิ่มกำลังขยายขึ้นเป็น 20 เท่า<ref>{{Cite journal|first=Albert|last=Van Helden|title=The Telescope in the Seventeenth Century|journal=Isis|volume=65|issue=1|date=March 1974|pages=38–58|publisher=The University of Chicago Press on behalf of The History of Science Society|jstor=228880|doi=10.1086/351216}}</ref> เขาสามารถมองเห็นเทหฟากฟ้าได้ชัดเจนกว่าที่เคยเห็นโดยกล้องโทรทรรศน์เดิม ทำให้กาลิเลโอค้นพบดาวจันทร์ของกาลิเลโอได้ในช่วงราวเดือนธันวาคม ปี ค.ศ. 1609 ถึง เดือนมกราคม ปี ค.ศ. 1610<ref name=Galileo89>Galilei, Galileo, ''Sidereus Nuncius''. Translated and prefaced by Albert Van Helden. Chicago & London: University of Chicago Press 1989, 14–16</ref><ref>{{Cite book|title=The Starry Messenger|last=Galilei|first=Galileo|year=1610|location=Venice|url=http://www.bard.edu/admission/forms/pdfs/galileo.pdf|quote=On the seventh day of January in this present year 1610....|isbn=0-374-37191-1}}</ref>
 
เมื่อวันที่ 7 มกราคม ปี ค.ศ. 1610 กาลิเลโอได้เขียนจดหมายซึ่งกล่าวถึงดวงจันทร์ของดาวพฤหัสบดีเป็นครั้งแรก ซึ่งในขณะนั้นเขามองเห็นเพียงสามดวง และเขาเชื่อว่าดวงจันทร์เหล่านั้นมีตำแหน่งที่อยู่คงที่ใกล้กับดาวพฤหัสบดี เขายังได้สังเกตุสังเกตวงโคจรของดวงจันทร์ทั้งสาม ในระหว่างวันที่ 8 มกราคม ถึง 2 มีนาคม ปี ค.ศ. 1610 ในระหว่างที่เฝ้าสังเกตุสังเกตดวงจันทร์ทั้งสามอยู่นั้น เขาก็ได้ค้นพบดวงจันทร์ดวงที่สี่และจากการสังเกตุสังเกตเขาได้ค้นพบว่าดวงจันทร์ทั้งสี่ไม่ได้อยู่คงที่แต่มันได้โคจรไปรอบๆดาวพฤหัสบดี<ref name=Galileo89/>
 
การค้นพบของกาลิเลโอได้พิสูจน์ถึงความสำคัญของกล้องโทรทรรศน์ในฐานะเครื่องมือของนักดาราศาสตร์ว่ายังมีเทหวัตถุในอวกาศที่ไม่สามารถมองเห็นได้ด้วยตาเปล่ารอการค้นพบอยู่ ที่สำคัญยิ่งกว่านั้นการค้นพบว่ามีเทหฟากฟ้าที่โคจรรอบสิ่งอื่นนอกจากโลกได้สั่นคลอนอย่างรุนแรงต่ออระบบโลกของปโตเลมี ([[ระบบโลกเป็นศูนย์กลาง|Ptolemaic world system]]) ที่ได้รับการยอมรับในขณะนั้นซึ่งเชื่อว่าโลกเป็นศูนย์กลางของจักรวาลและเทหฟากฟ้าอื่นๆทั้งหมดจะโคจรรอบโลก<ref>{{Cite web|url= http://galileo.rice.edu/sci/observations/jupiter_satellites.html|title=Satellites of Jupiter|accessdate=9 August 2007|work=The Galileo Project|publisher=[[มหาวิทยาลัยไรซ์]]|year=1995}}</ref> บทความของกาลิเลโอ ''Sidereus Nuncius'' (''Starry Messenger'') ซึ่งประกาศถึงการเฝ้าสังเกตุสังเกตฟากฟ้าผ่านกล้องโทรทรรศน์ของเขานั้นไม่ได้กล่าวยอมรับทฤษฎี [[Copernican heliocentrism]] ซึ่งเชื่อว่า[[ดวงอาทิตย์]]เป็นศูนย์กลางของจักรวาล แต่กาลิเลโอเองก็ยอมรับในทฤษฎี Copernican<ref name=Galileo89/> ผลจากการค้นพบครั้งนี้ กาลิเลโอสามารถพัฒนาวิธีการกำหนดลองจิจูด ([[ลองจิจูด]]) ของตำแหน่งในวงโคจรของดวงจันทร์ของกาลิเลโอได้<ref>Howse, Derek. ''Greenwich Time and the Discovery of the Longitude''. Oxford: Oxford University Press, 1980, 12.</ref>
 
นักดาราศาสตร์ชาวจีน [[Xi Zezong]] ได้อ้างว่ามีการค้นพบดาวสีแดงขนาดเล็กอยู่ใกล้กับดาวพฤหัสบดีในราว 362 ปีก่อนคริสตกาลโดยนักดาราศาสตร์ชาวจีน [[Gan De]] ซึ่งคาดว่าจะเป็น แกนิมิด ([[Ganymede (moon)|Ganymede]]) ซึ่งเป็นเวลาราวสองพันปีก่อนการค้นพบของกาลิเลโอ<ref>Zezong, Xi, "The Discovery of Jupiter's Satellite Made by Gan De 2000 years Before Galileo", ''Chinese Physics'' 2 (3) (1982): 664–67.</ref>
บรรทัด 38:
=== ชื่อ ===
[[ไฟล์:Apparatus to demonstrate the motion of Jupiter's satellites in Putnam Gallery, 2009-11-24.jpg|thumb|An apparatus from the mid-18th century for demonstrating the orbits of Jupiter's satellites]]
กาลิเลโอแรกเริ่มได้ตั้งชื่อดวงจันทร์ที่เขาค้นพบว่า '''Cosmica Sidera''' ("Cosimo's stars") เพื่อเป็นเกียรติแก่ [[Cosimo II de' Medici]] (1590–1621). ต่อมากาลิเลโอได้เปลี่ยนชื่อเป็น '''Medicea Sidera''' ("the '''Medician stars'''") ตามคำแนะนำของคอสิโมเพื่อเป็นเกียรติแก่พี่น้องทั้งสี่คนของตระกูลเมดีซี (คอสิโม (Cosimo), ฟรานเชสโก (Francesco), คาร์โล ([[Carlo de' Medici (cardinal)|Carlo]]), และ ลอเรนโซ (Lorenzo)) การค้นพบถูกประกาศใน ''[[Sidereus Nuncius]]'' ("Starry Messenger") ตีพิมพ์ที่เมืองเวนิช ([[เวนิส]]) ในเดือนมีนาคม ปี ค.ศ. 1610 ซึ่งเป็นเวลาน้อยกว่าสองเดือนหลังการสังเกตุสังเกตพบในครั้งแรก
 
ชื่ออื่นๆ ซึ่งถูกเสนอพร้อมกัน:
บรรทัด 134:
แกนิมิด ดวงจันทร์ลำดับที่สามของกลุ่มดวงจันทร์ของกาลิเลโอ ได้ชื่อตามเทพเจ้าของกรีก [[แกนีมีด (เทพปกรณัม)|Ganymede]] ทำหน้าที่ผู้ถวายพระสุทธารส (cupbearer) และเป็นคนรักของซูส ([[ซูส]])<ref>{{Cite web| url = http://galileo.rice.edu/sci/observations/jupiter_satellites.html| title = Satellites of Jupiter| work = The Galileo Project| accessdate = 2007-11-24}}</ref> แกนิมิเป็น[[List of natural satellites by diameter|ดวงจันทร์ที่มีขนาดใหญ่]]ในระบบสุริยะ โดยมีเส้นผ่านศูนย์กลาง 5262.4 กิโลเมตร มันจึงมีขนาดใหญ่กว่าดาวอังคาร ([[ดาวพุธ|Mercury]]) - แต่มีมวลเพียงครึ่งเดียวของดาวอังคาร<ref name="nineplanets.org-Ganymede">{{Cite web|publisher=nineplanets.org|title=Ganymede|date=October 31, 1997|url=http://www.nineplanets.org/ganymede.html|accessdate=2008-02-27}}</ref> เนื่องจากแกนิมิดมีส่วนประกอบเป็นน้ำแข็งจำนวนมาก มันเป็นดาวบริวารเพียงดวงเดียวที่มีสนามแม่เหล็ก ([[แม็กนีโตสเฟียร์]]) ของตัวเองซึ่งน่าจะเกิดจาก[[การพาความร้อน]]ภายในแกนกลางที่เป็นเหล็กหลอมเหลว<ref>{{Cite journal|last=Kivelson|first=M.G.|title=The Permanent and Inductive Magnetic Moments of Ganymede|journal=Icarus|year=2002|volume=157|issue=2|pages=507–522|doi=10.1006/icar.2002.6834| url=http://www.igpp.ucla.edu/people/mkivelson/Publications/ICRUS1572507.pdf|format=PDF|bibcode=2002Icar..157..507K|author2=Khurana, K.K.|last3=Coroniti|first3=F.V.|display-authors=2}}</ref>
 
องค์ประกอบหลักของแกนิมิดเป็นหินซิลิกา ([[silicate|silicate rock]]) และน้ำในรูปของแข็ง และมีมหาสมุทรน้ำเค็มซึ่งเชื่อว่าอยู่ลึกราว 200 กิโลเมตรใต้พื้นผิวของแกนิมิดโดยถูกประกบไว้ด้วยชั้นของน้ำแข็ง<ref>{{Cite web|url=http://www.jpl.nasa.gov/releases/2000/aguganymederoundup.html|title=Solar System's largest moon likely has a hidden ocean|accessdate=2008-01-11|date=2000-12-16|work=Jet Propulsion Laboratory|publisher=NASA}}</ref> แกนกลางที่เป็นโลหะของแกนิมิดชี้ว่าในอดีตแกนิมิดอาจจะมีความร้อนสูงมากกว่าในปัจจุบัน พื้นผิวของดาวประกอบด้วยพื่นที่สองประเภท - พื้นผิวที่มีสีเข้มและมีอายุน้อยกว่ากับพื้นผิวซึ่งมีอายุมากกว่าและเต็มไปด้วยร่องและแนว แกนิมิดเต็มไปด้วยหลุมอุกกาบาตแต่ส่วนมากได้หายไปหรือสังเกตุสังเกตเห็นได้ยากเนื่องจากเปลือกน้ำแข็งที่ปกคลุมเหนือหลุมเหล่านั้น ดวงจันทร์มี[[บรรยากาศ]]เบาบางประกอบด้วย[[ออกซิเจน]]ในรูป O, O<sub>2</sub>, และอาจจะมี O<sub>3</sub> ([[โอโซน]]) และยังมีอะตอมของไฮโดรเจน ([[อะตอมไฮโดรเจน]])<ref>{{Cite journal|last=Hall|first=D.T.|title=The Far-Ultraviolet Oxygen Airglow of Europa and Ganymede|journal=The Astrophysical Journal|year=1998|volume=499|issue=1|pages=475–481| doi=10.1086/305604| bibcode=1998ApJ...499..475H|author2=Feldman, P.D.|last3=McGrath|first3=M.A.|display-authors=2|last4=Strobel|first4=D. F.}}</ref><ref>{{Cite journal|last=Eviatar|first=Aharon|title=The ionosphere of Ganymede|journal=Plan.Space Sci.|year=2001|volume=49|issue=3–4|pages=327–336| doi=10.1016/S0032-0633(00)00154-9|url=http://www.tau.ac.il/~arkee/ganymop.ps|format=ps|bibcode=2001P&SS...49..327E|author2=Vasyliunas, Vytenis M.|last3=Gurnett|first3=Donald A.|display-authors=2}}</ref>
 
[[ไฟล์:Masses of Jovian moons.png|thumb|200px|Relative masses of the Jovian moons. Io and Callisto together are about 50%, as are Europa and Ganymede. The Galileans so dominate the system that all the other Jovian moons put together are not visible at this scale.]]
บรรทัด 190:
== การมองเห็นได้ ==
[[ไฟล์:Thomas Bresson - Jupiter(2) (by).jpg|thumb|180px|The Galilean moons seen with an amateur telescope.]]
ดวงจันทร์ของกาลิเลโอทั้งสี่ดวงมีความสว่างเพียงพอที่จะมองเห็นได้ด้วยตาเปล่าจากโลกถ้าหากว่ามันอยู่ห่างจากดาวพฤหัสบดีมากเพียงพอ อย่างไรก็ดีมันสามารถมองเห็นได้โดยง่ายด้วย[[กล้องสองตา]]ที่มีไม่ต้องมีกำลังขยายสูง ดวงจันทร์ทั้งสี่มีความสว่างปรากฏ ([[apparent magnitude]]s) ระหว่าง 4.6 ถึง 5.6 เมื่อดาวพฤหัสบดีอยู่ที่ตำแหน่ง[[ตรงข้าม]]กับดวงอาทิตย์<ref name=jplfact>{{Cite web|last=Yeomans|first=Donald K.|date=2006-07-13|title=Planetary Satellite Physical Parameters|publisher=JPL Solar System Dynamics|url=http://ssd.jpl.nasa.gov/?sat_phys_par|accessdate=2008-08-23}}</ref> และมีความสว่างปรากฏต่ำกว่า 1 หน่วยเมื่อมันอยู่หลังดาวพฤหัสบดี ความยากที่สุดในการสังเกตุสังเกตดวงจันทร์ทั้งสี่จากโลกคือระยะห่างของมันกับดาวพฤหัสบดีเนื่องจากดวงจันทร์จะโดนบดบังโดยความสว่างของดาวพฤหัสบดี<ref>Jupiter is about 750 times brighter than Ganymede and about 2000 times brighter than Callisto.<br />Ganymede: (5th root of 100)^(4.4 Ganymede [[ความส่องสว่างปรากฏ|APmag]] - (-2.8 Jup APmag)) = 758<br />Callisto: (5th root of 100)^(5.5 Callisto APmag - (-2.8 Jup APmag)) = 2089</ref> การแบ่งแยกเชิงมุมสูงสุดระหว่างดวงจันทร์กับดาวพฤหัสบดีอยู่ระหว่าง 2 and 10 ลิปดา ([[ลิปดา|minutes of arc]])<ref>Jupiter near [[จุดปลายระยะทางวงโคจร|perihelion]] 2010-Sep-19: 656.7 (Callisto angular separation arcsec) - 24.9 (jup angular [[รัศมี]] arcsec) = 631 arcsec = 10 arcmin</ref> ซึ่งใกล้เคียงกับความขีดจำกัดของการมองเห็น ([[visual acuity]]) ของมนุษย์ แกนิมิดและคาลิสโตซึ่งมีการแบ่งแยกเชิงมุมสูงที่สุดเป็นเป้าหมายที่สามารถมองเห็นได้ด้วยตาเปล่าง่ายที่สุด วิธีที่ง่ายที่สุดในการสังเกตุสังเกตพวกมันคือหาวัตถุบังดาวพฤหัสบดี เช่น กิ่งต้นไม้หรือเสาไฟฟ้าที่ตั้งฉากกับระนาบวงโคจรของดวงจันทร์กับดาวพฤหัสบดี
 
== ดูเพิ่ม ==