ผลต่างระหว่างรุ่นของ "กระทิง (พรรณไม้)"

เนื้อหาที่ลบ เนื้อหาที่เพิ่ม
BotKung (คุย | ส่วนร่วม)
เก็บกวาดบทความด้วยบอต
PAHs (คุย | ส่วนร่วม)
ไม่มีความย่อการแก้ไข
บรรทัด 18:
}}
 
'''กระทิง''' {{ชื่อวิทยาศาสตร์|Calophyllum inophyllum}}มีชื่อพื้นเมืองอื่น ๆ: กระทิง กากะทิง (ภาคกลาง), ทิง (กระบี่), เนาวกาน (น่าน), สารภีทะเล (ประจวบคีรีขันธ์), สารภีแนน (ภาคเหนือ) เป็นดอกไม้ลักษณะ: เป็นไม้ยืนต้นขนาดกลางถึงขนาดใหญ่สูง 20 – 25 เมตร เปลือกเรียบสีเทาอ่อนหรือน้ำตาลปนเหลือง เปลือกในสีชมพูเนื้อไม้สีน้ำตาลปนแดง ใบเป็นใบเดี่ยว ไม่ผลัดใบ เรือนยอดเป็นพุ่มกลม สีเขียวเข้ม กิ่งอ่อนเกลี้ยง ยอดอ่อนเรียวเล็ก ปลายทู่ ออกดอกเป็นช่อสั้นที่ซอกใบบริเวณปลายกิ่ง มีดอกย่อย กลีบดอกสีขาว เกสรเพศผู้สีเหลือง มีกลิ่นหอม ออกดอกช่วงเดือนตุลาคม-ธันวาคม ผลเป็นผลสดทรงกลม ปลายผลเป็นติ่งแหลม เมื่อสุกจะมีสีเหลือง
ออกดอกเป็นช่อสั้นที่ซอกใบบริเวณปลายกิ่ง มีดอกย่อย กลีบดอกสีขาว เกสรเพศผู้สีเหลือง มีกลิ่นหอม ออกดอกช่วงเดือนตุลาคม-ธันวาคม ผลเป็นผลสดทรงกลม ปลายผลเป็นติ่งแหลม เมื่อสุกจะมีสีเหลือง
 
การดูแลรักษาทำได้โดยชอบดินร่วนปนทรายหรือดินทราย ความชุ่มชื้นปานกลาง ขยายพันธุ์โดย[[การเพาะเมล็ด]] กระทิงเป็นพืชมีพิษ ราก เปลือกและใบเมื่อรับประทานเข้าไปจะมีผลต่อหัวใจ<ref>เศรษฐมนตร์ กาญจนกุล. ไม้มีพิษ. กทม. เศรษฐศิลป์. 2552</ref>
 
== กระทิง ในวรรณกรรม ==
เส้น 36 ⟶ 35:
[[หมวดหมู่:พรรณไม้ในวรรณคดี]]
[[หมวดหมู่:วงศ์มังคุด]]
[[หมวดหมู่:พืชมีพิษ]]
{{โครงพืช}}
{{ต้นไม้พระราชทาน}}