ผลต่างระหว่างรุ่นของ "พระราชนิเวศน์มฤคทายวัน"

เนื้อหาที่ลบ เนื้อหาที่เพิ่ม
Tataemnoil (คุย | ส่วนร่วม)
Tataemnoil (คุย | ส่วนร่วม)
ไม่มีความย่อการแก้ไข
บรรทัด 28:
| หมายเหตุ =
}}
'''พระราชนิเวศน์มฤคทายวัน''' เป็นพระราชวังฤดูร้อนซึ่งเป็นที่ประทับในของ[[พระบาทสมเด็จพระมงกุฏเกล้าเจ้าอยู่หัว และสมเด็จพระเจ้าภคินีเธอ เจ้าฟ้าเพชรรัตนราชสุดา สิริโสภาพัณณวดี ]]
 
== ประวัติ ==
'''พระราชนิเวศน์มฤคทายวัน''' เป็นพระราชวังฤดูร้อนซึ่งเป็นที่ประทับส่วนพระองค์ของ[[พระบาทสมเด็จพระมงกุฏเกล้าเจ้าอยู่หัว]]จัดเป็นพระราชวังที่มีความเรียบง่ายที่สุดซึ่งสร้างตามพระราชประสงค์ของพระองค์เองเพื่อไม่ให้เป็นการเปลืองพระราชทรัพย์จนเกินไปโดยพระองค์เสด็จมาประทับ ณ พระราชนิเวศน์แห่งนี้ถึงสองครั้ง ครั้งแรกเมื่อปีพ.ศ.2467 เป็นเวลา3เดือน และครั้งที่สองในปีเดียวกัน หลังจากนั้นก็ไม่ได้เสด็จมาประทับอีกเลยเนื่องจาก5เดือนต่อมาพระองค์ก็ทรงเสด็จสวรรคต ณ พระบรมมหาราชวัง
พระราชนิเวศน์มฤคทายวันสถานที่อันเป็นมรดกทางประวัติศาสตร์และสถาปัตยกรรมอันล้ำค่านามเป็นอาคารไม้ที่งดงามยิ่ง สร้างขึ้นด้วยไม้สักทองทั้งหลัง ตั้งอยู่ท่ามกลางธรรมชาติของพรรณไม้ร่มรื่นและหาดทราย ขาวสะอาดตา ผสานเสียงเกลียวคลื่นดังกระทบฝั่งอยู่เป็นระยะๆ นับเป็นบรรยากาศที่สงบและรื่นรมย์ เป็นพระราชวังที่พระบาทสมเด็จพระมงกุฎเกล้าเจ้าอยู่หัว ได้โปรดเกล้าฯให้สร้างขึ้นเมื่อ พ.ศ. 2467 ซึ่งตั้งอยู่ในเขตพื้นที่ตำรวจตระเวนชายแดนค่ายพระรามหกซึ่งพระราชวังแห่งนี้ประกอบไปด้วยหมู่พระที่นั่งใหญ่ 3 องค์ ปลูกเรียงรายไปตามแนวชายหาด ทุกองค์สร้างอย่างแบบ ยุโรปสิ่งที่น่ายกย่องของสถานที่แห่งนี้ ได้แก่ ความตั้งใจและความพยายาม ที่จะสร้างที่ประทับ ให้เหมาะสมกับ สภาพภูมิประเทศและ ภูมิอากาศอย่างแท้จริงโดยปรับให้เข้ากับภูมิอากาศของไทยที่ร้อนชื้นได้เป็นอย่างดี
ตัวพระที่นั่งเป็นแบบยกพื้นสูงใต้ถุนที่โปร่งโล่ง เปิดรับลมทะเลที่พัด เข้าสู่หมู่พระที่นั่งให้ความเย็นสบายตลอดวัน หลังคาทรงปั้นหยาซึ่ง กันแดดและฝนได้ดี กระเบื้องมุงหลังคาทำด้วยซีเมนต์เคลือบสีแดง แนวระเบียงเชื่อมองค์พระที่นั่งทั้งสามเรียกว่า คัฟเวอร์เวย์ (Cover Way) ให้ความสะดวกสบายและปลอดภัยในการสัญจรไปมา ไม่ต้องเดินขึ้นลง บันไดบ่อยๆ พื้นระเบียงและพระที่นั่งทำด้วยไม้สักลงเงา ดูโอ่อ่าสวยงามยิ่ง ส่วนเพดาน ใช้คานไม้ดัดโค้งบรรจุ ระหว่าง ช่วงเสาทุกช่วงตลอดแนวระเบียง เพิ่มความอ่อนช้อยให้กับพระราชนิเวศน์ เช่นเดียวกับสถาปัตยกรรม ยุโรปซึ่งจัดจังหวะโค้งของวงกบหน้าต่างตอนบน ให้ความอ่อนหวานและยังคงได้รับความนิยมสืบมาจนถึงปัจจุบัน
 
== ปัจจุบัน ==
ปัจจุบัน พระราชนิเวศน์ยังคงอยู่บนที่ดินอันเป็นทรัพย์สินส่วนพระมหากษัตริย์ ซึ่งพระบาทสมเด็จพระเจ้าอยู่หัว รัชกาลปัจจุบัน พระราชทานพระบรมราชานุญาตให้ใช้เป็นค่ายพระรามหก กองบัญชาการตำรวจตระเวนชายแดน เมื่อพระราชนิเวศน์ทรุดโทรมลงจนถึงขั้นปรักหักพัง ความทราบฝ่าพระบาท [[สมเด็จพระเจ้าภคินีเธอ เจ้าฟ้าเพชรรัตนราชสุดา สิริโสภาพัณณวดี]] พระราชธิดาพระองค์เดียวในรัชกาลที่ 6 ได้ทรงพระกรุณาโปรดให้บูรณปฏิสังขรณ์ครั้งใหญ่ พร้อมพระราชทานกำเนิด[[มูลนิธิพระราชนิเวศน์มฤคทายวัน]] และทรงรับไว้ในพระอุปถัมภ์ เพื่อเป็นกำลังหลักในการฟื้นฟูและพัฒนาพระราชนิเวศน์ให้เป็นแหล่งท่องเที่ยวและศึกษาเรียนรู้ทางศิลปวัฒนธรรมของประเทศ ตามแนวพระราชดำริของพระบาทสมเด็จพระมงกุฎเกล้าเจ้าอยู่หัว และพระบาทสมเด็จพระเจ้าอยู่หัว รัชกาลปัจจุบัน
เส้น 40 ⟶ 37:
พระราชนิเวศน์แห่งนี้ มีตำนานที่เล่าขานต่อๆ สืบเนื่องมาจากเมื่อคราวที่พระนางเจ้าอินทรศักดิ์ศจี ทรงพระครรภ์นั้น พระมหาธีรราชเจ้าทรงพระเกษมสำราญยิ่งด้วยทรงมุ่งหวังว่าจะทรงมีพระราชปิโยรส แต่ความหวังทั้งมวลก็สิ้น สลายเมื่อสมเด็จพระนางเจ้าฯ ไม่สามารถมีพระประสูติกาลได้ ยามนั้นพระองค์ท่านทรงอภิบาลพระมเหสีด้วยน้ำพระทัยเป็นห่วงและเศร้าสร้อย ณ พระที่นั่งสมุทรพิมานแห่งนี้ อย่างไรก็ดี พระราชนิเวศน์ยังเป็นสถานที่พระบาทสมเด็จพระมงกุฎเกล้าเจ้าอยู่หัวได้ทรงบังเกิดพระราชประดิพัทธ์ในความรักครั้งต่อมากับคุณสุวัทนา ซึ่งต่อมาทรงสถาปนาเป็นเจ้าจอมสุวัทนา และพระนางเจ้าสุวัทนา พระวรราชเทวี ตามลำดับ ได้เสด็จพระราชดำเนินมาประทับ ณ พระราชนิเวศน์มฤคทายวันพร้อมด้วย [[พระนางเจ้าสุวัทนา พระวรราชเทวี]] ซึ่งมีพระครรภ์พระหน่อ อีกครั้งระหว่างวันที่ 12 เมษายน ถึงวันที่ 20 มิถุนายน 2468การเสด็จครั้งนี้เสมือน หนึ่งการเสด็จมาเพื่ออำลาพระราชนิเวศน์ที่ทรงรักโดยแท้ เพราะเมื่อเสด็จกลับพระนคร อีก 5 เดือนพระนางเจ้าสุวัทนาฯ ประสูติพระราชธิดาแล้ว วันรุ่งขึ้นพระบาทสมเด็จพระมงกุฎเกล้าเจ้าอยู่หัว ก็เสด็จสวรรคต
 
==ผังบริเวณและสถาปัตยกรรม ==
สถาปัตยกรรมของพระราชนิเวศน์เป็นสถาปัตยกรรมแบบไทยประยุกต์คือ(ไทยผสมยุโรป)สร้างด้วยไม้สักทองลักษณะเป็นอาคาร2ชั้นเปิดโล่งใต้ถุนสูงบริเวณใต้ถุนทำเป็นคอนกรีตหลังคาเป็นหลังคาทรงปั้นหยามุงด้วยกระเบื้องว่าวแบบสี่เหลี่ยมซึ่งสามารถกันแดดและกันฝนได้ดีกว่าแบบธรรมดาเพดานยกพื้นสูงมีบานเกร็ดระบายความร้อนโดยมีเสารองรับพระที่นั่งทั้งหมด1080ต้นวางในแนวเดียวกันเสาทุกต้นมีการหล่อขอบฐานและยกขอบขึ้นไปรางน้ำเรียกว่าบัวขอบเพื่อกันมดและสัตว์อื่นๆซึ่งในสมัยนั้นมีมดและสัตว์อื่นๆชุกชุม
พระราชนิเวศน์มฤคทายวันเป็นหมู่อาคารที่วางเรียงกันตามความยาวของชายหาด แบ่งพื้นที่ออกเป็นสองส่วน คือ ส่วนที่ประทับทางทิศใต้ และส่วนที่อยู่ของข้าราชบริพารทางทิศเหนือ ส่วนที่ประทับนั้น มีรั้วล้อมสามด้าน ภายในมีพระที่นั่งสามหมู่ คือ พระที่นั่งสมุทรพิมาน เป็นที่ประทับของพระบาทสมเด็จพระมงกุฎเกล้าเจ้าอยู่หัว [[พระที่นั่งพิศาลสาคร]] เป็นที่ประทับของสมเด็จพระนางเจ้าอินทรศักดิ์ศจี พระวรราชชายา และพระที่นั่งสโมสรเสวกามาตย์ เป็นท้องพระโรงและโรงละคร
พระที่นั่งที่ประทับแต่ละหมู่เป็นอาคารชั้นเดียวยกใต้ถุนสูง ประกอบด้วยห้องที่ประทับ ที่เสวย ห้องพระภูษา และห้องพักข้าราชบริพารผู้ตามเสด็จฯ แต่ละห้องวางกระจายกันให้รับลม มีชาลาเชื่อม มีหลังคาคลุมติดต่อกัน ยาวต่อเนื่องไปจนถึงศาลาลงสรงที่ริมหาด แยกฝ่ายหน้าฝ่ายในไม่ปะปนกัน ตามโบราณราชประเพณี
ส่วนที่อยู่ของข้าราชบริพารนั้น อยู่นอกรั้วส่วนที่ประทับไปทางทิศเหนือ มีแนวถนนเลียบไปตามแนวชายหาด และมีอาคารบ้านพักข้าราชสำนักฝ่ายหน้าที่ตามเสด็จฯ “โฮเต็ล” ภัตตาคาร โรงไฟฟ้า โรงรถยนต์หลวง ฯลฯ รวมทั้งสิ้น ๒๘ หลัง เกือบทั้งหมดเป็นโครงสร้างไม้มุงจาก ปัจจุบันยังคงเหลือบ้านเจ้าพระยารามราฆพ ซึ่งเป็นอาคารโครงสร้างคอนกรีตผสมไม้เพียงหลังเดียว
สถาปัตยกรรมพระราชนิเวศน์มฤคทายวัน เป็นตัวอย่างของสถาปัตยกรรมเพื่อการพักตากอากาศในช่วงปลายรัชกาลที่ ๖ เมื่อครั้งที่วัสดุก่อสร้างในพื้นที่ยังหายาก กับทั้งระยะเวลาในการก่อสร้างที่จำกัด [[สถาปนิก]]และ[[วิศวกร]]จึงเลือกใช้[[ระบบพิกัด (modular system)]] ในการออกแบบ ทั้งทางราบและทางตั้ง โดยใช้แนวเสาระยะ ๓.๐๐ เมตรเป็นมาตรฐาน แต่ละช่วงเสาแบ่งผนังออกเป็น ๗ ส่วนๆ ละ ๔๐ เซนติเมตร เกิดเป็นจังหวะ ๒ : ๓ : ๒ ตอบรับกับขนาดบานหน้าต่างและประตู ช่องระบายอากาศไม้ฉลุเหนือขอบประตู ตลอดจนฝ้าเพดานห้อง ใช้ชิ้นส่วนวัสดุก่อสร้างสำเร็จรูปที่ผลิตโดยระบบอุตสาหกรรม แต่วางแผนผังห้องให้ยักเยื้องกัน มีรูปทรงหลังคาที่หลากหลาย ทำให้อาคารดูเรียบง่ายแต่ไม่น่าเบื่อ ทั้งยังมีความโปร่งเบา มีการประดับประดาแต่น้อยที่สุด ตอบรับกับความนิยมของยุคสมัย ที่เป็นรอยต่อระหว่าง[[สถาปัตยกรรมวิคตอเรียน]] (Victorian Architecture) กับ[[สถาปัตยกรรมสมัยใหม่]] (Modern Architecture)
 
== พระที่นั่ง ==
พระที่นั่งทั้ง3องค์มีความยาวทั้งสิ้น399เมตรแบ่งเป็น3ส่วนคือ ท้องพระโรง เขตที่ประทับฝ่ายหน้า และเขตที่ประทับฝ่ายในโดยมีทางเชื่อมต่อกันโดยตลอดโดยมีพระที่นั่งองค์ต่างๆดังนี้
พระราชนิเวศน์มฤคทายวันประกอบด้วยพระที่นั่งองค์ต่างๆดังนี้
=== พระที่นั่งสโมสรเสวกามาตย์ ===
'''พระที่นั่งสโมสรเสวกามาตย์''' เป็นพระที่นั่งองค์แรกตั้งอยู่ทางทิศเหนือเป็นพระที่นั่ง2ชั้นผังอาคารเป็นรูปสี่เหลี่ยมผืนผ้าเปิดถึงกันทั้งชั้นบนและชั้นล่างด้านบนเพดานเป็นช่องสี่เหลี่ยมเขียนลวดลายโดยทั้งชั้นล่างและชั้นบนมีเสารองรับน้ำหนักห้องควบคุมไฟสำหรับเวทีที่ใช้แสดงละครและมีห้องพักนักแสดงภายในมีบันไดโค้งใช้สำหรับนักแสดงขึ้นลงโดยการแสดงจะจัดขึ้นบริเวณทิศเหนือซึ่งเป็นเวทีซึ่งยกพื้นสูงโดยเจ้านายฝ่ายในจะประทับที่เฉลียงชั้นบนอัฒจันทร์ที่อยู่ตรงทางเข้านั้นเป็นทางเสด็จโดยพระที่นั่งองค์นี้มีทางเชื่อมกับราชดำเนินของ[[พระที่นั่งองค์อื่นๆด้วยหลังคาซึ่งมีหลังคาคลุมบาทสมเด็จพระมงกุฏเกล้าเจ้าอยู่หัว]]โดยทางขึ้นและทางลงแยกกันคนละทางโดยบนอัฒจันทร์มีลาดพระบาท(พรม)สำหรับเป็นทางเสด็จชั้นบน เป็นท้องพระโรงสำหรับเสด็จออกว่าราชการ รับพระราชอาคันตุกะ และประกอบพระราชพิธีต่างๆชั้นบนมีโดยภายในห้องพระระเบียงสำหรับทรงทอดพระเนตรการแสดงของข้าราชบริพารจัดถวายและพิธีเป็นที่ประทับของสมเด็จพระนางเจ้าอินทรศักดิศจี สำหรับทรงทอดพระเนตรการแสดงของพระบาทสมเด็จพระมงกุฎเกล้าเจ้าอยู่หัว และมีห้องประดิษฐานพระบรมรูปซึ่งเป็นที่ประดิษฐานสร้างขึ้นภายหลังนอกจากนี้ยังมีพระบรมรูปฉายาลักษณ์ของ[[พระบาทสมเด็จพระมงกุฎมงกุฏเกล้าเจ้าอยู่หัว]]อีกหลายภาพ
=== หมู่พระที่นั่งพิศาลสาครสมุทรพิมาน ===
 
=== '''หมู่พระที่นั่งสมุทรพิมาน ==='''ประกอบไปด้วยอาคารต่างๆดังนี้
*อาคารด้านหน้า คือบ้านพักของเจ้าพระยารามราฆพ(หม่อมหลวง เฟื้อ พึ่งบุญ)ซึ่งเป็นผู้สำเร็จราชการมหาดเล็กภายในประกอบด้วยห้องรับแขก ห้องน้ำ ห้องนอน ห้องทำงาน
'''พระที่นั่งสมุทรพิมาน''' เป็นพระที่นั่งที่มีทางเดินเชื่อมต่อจากพระที่นั่งสโมสรเสวกามาตย์ลงมาทางใต้พระที่นังองค์นี้เคยเป็นที่ประทับในพระบาทสมเด็จพระมงกุฎเกล้าเจ้าอยู่หัวอาคารด้านหน้า ประกอบด้วย ห้องสรง ห้องพระบรรทม และห้องทรงพระอักษร ซึ่งมีการจัดวาง สิ่งของเครื่องใช้ และเครื่องเรือน ส่วนพระองค์ให้ชม อาคารส่วนกลางเป็นห้องโล่งกว้างมีเพียงลูกกรงกั้นโดยรอบ ลักษณะคล้ายศาลา เป็นที่ซึ่งพระองค์โปรดประทับในเวลากลางวัน ปัจจุบันจัดตั้งโต๊ะหมู่บูชาประดิษฐาน พระบรมรูปให้คนทั่วไปได้สักการะ อาคารด้านหลังปีกทางทิศใต้ เคยเป็นที่ประทับของพระนางเจ้าสุวัทนาพระวรราชเทวี ในการเสด็จประทับครั้งที่ 2 จากด้านหน้าของพระที่นั่งองค์นี้ มีทางเดินทอดยาวไปจดชายหาดพร้อม ทั้งมีพลับพลาสำหรับเปลี่ยนเครื่องทรงเมื่อเสด็จลงสรงน้ำทะเลด้วย
*พระที่นั่งสมุทรพิมานองค์ที่สอง เป็นส่วนที่ประทับของ[[พระบาทสมเด็จพระมงกุฏเกล้าเจ้าอยู่หัว]] ภายในประกอบด้วย ห้องพระบรรทม ห้องทรงงาน ห้องสรง ห้องแต่งพระองค์
=== พระที่นั่งพิศาลสาคร ===
*อาคารด้านตรงข้ามกับพระที่นั่งสมุทรพิมาน คือหอเสวยฝ่ายหน้าเป็นสถานที่สำหรับเสวยพระกายาหารและจัดงานพระราชทานเลี้ยง
'''พระที่นั่งพิศาลสาคร''' เป็นพระที่นั่งที่ตั้งอยู่ทางทิศใต้ของพระที่นั่งสมุทรพิมานโดยประกอบด้วยท้องพระโรงฝ่ายใน ห้องรับแขก ห้องบรรทม ห้องแต่งพระองค์ ห้องสรงและเฉลียงรับลม
*พระที่นั่งสมุทรพิมานองค์แรก เดิมเป็นที่ประทับของ[[พระบาทสมเด็จพระมงกุฏเกล้าเจ้าอยู่หัว]]ต่อมาโปรดเกล้าให้เป็นที่ประทับของพระนางเจ้าสุวัฒนา พระวรราชเทวี
และมีหอเสวยฝ่ายในโดยจัดเป็นที่ประทับของสมเด็จพระนางเจ้าอินทรศักดิศจี พระบรมราชินี(พระยศในขณะนั้น)และเป็นที่พักของฝ่ายในโดยมีศาลาลงสรงสำหรับฝ่ายในซึ่งเชื่อมกันกับพระที่นั่งพิศาลสาครภายในประกอบด้วยห้องเปลี่ยนฉลองพระองค์ ห้องเก็บของ และเฉลียงสำหรับรับลมทะเล ปัจจุบันศาลาลงสรงชำรุดจึงไม่เปิดให้เข้าชม
*เรือนฝ่ายใน เดิมเป็นบ้านพักของเจ้าพระยาอนิรุทธเทวา(หม่อมหลวง ฟื้น พึ่งบุญ)ซึ่งเป็นน้องชายของเจ้าพระยารามราฆพ
 
โดยพระที่นั่งองค์นี้มีทางเชื่อมกับศาลาลงสรงฝ่ายหน้าภายในประกอบด้วยห้องแต่งพระองค์ ห้องเก็บของ และเฉลียงสำหรับรับลมทะเลโดยถ้าไม่โปรดจะลงเล่นน้ำทะเลก็มาประทับที่เฉลียงรับลมทะเลก็ได้
=== หมู่พระที่นั่งพิศาลสาคร ===
'''หมู่พระทีนั่งพิศาลสาคร'''ประกอบไปด้วยอาคารต่างๆดังนี้
*อาคารหลังแรก เป็นห้องรับแขกเดิมเป็นท้องพระโรงฝ่ายในปัจจุบันเป็นโรงเรียนสอนดนตรีไทย
*หอเสวยฝ่ายใน เป็นสถานที่สำหรับเสวยพระกายาหาร
'''*พระที่นั่งพิศาลสาคร''' เป็นพระที่นั่งที่ตั้งอยู่ทางทิศใต้ประทับของสมเด็จพระนางเจ้าอินทรศักดิศจี พระที่นั่งสมุทรพิมานโดยวรชายา ภายในประกอบด้วยท้องพระโรงฝ่ายใน ห้องบรรทม ห้องรับแขก ห้องบรรทม สรง ห้องแต่งพระองค์ ห้องสรงและเฉลียงสำหรับรับลมลมทะเล
*เรือนพระสุจริตสุดา เป็นบ้านพักของพระสุจริตสุดาซึ่งเป็นพระสนมเอกภายในประกอบด้วย ห้องนอน ห้องน้ำ ห้องแต่งตัวและเฉลียงรับลมทะเล
*ห้องพักคุณท้าววรคณานันท์ เป็นบ้านพักของคุณท้าววรคณานันท์(หม่อมราชวงศ์แป๋ม มาลากุล) และคุณท้าวสมศักดิ์(หม่อมราชวงศ์แป๋ม มาลากุล)
โดยพระที่นั่งองค์นี้มีทางเชื่อมกับศาลาลงสรงฝ่ายในภายในประกอบด้วยห้องแต่งพระองค์ ห้องเก็บของ และเฉลียงสำหรับรับลมทะเลโดยถ้าไม่โปรดจะลงเล่นน้ำทะเลก็มาประทับที่เฉลียงรับลมทะเลก็ได้
== สวนพระราชนิเวศน์มฤคทายวัน ==
[[ไฟล์:Phra Ratchaniwet Marukkhathaiyawan 4.jpg|thumb|250px|บริเวณโดยรอบของพระราชนิเวศน์มฤคทายวัน]]
เส้น 78 ⟶ 80:
* [http://www.land.arch.chula.ac.th/fieldtrip47/group7/01index.htm พระราชนิเวศน์มฤคทายวัน] จากเว็บไซต์ [[คณะสถาปัตยกรรมศาสตร์ จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย]]
* [http://www.taluitamtawan.com/talui/mrigadayavan/ ตะลุยพาเที่ยว]
* [http://www.mrigadayavan.or.th/history.php]
 
{{geolinks-bldg|12.6978579|99.9632049}}