ผลต่างระหว่างรุ่นของ "เมฆออร์ต"

เนื้อหาที่ลบ เนื้อหาที่เพิ่ม
Octahedron80 (คุย | ส่วนร่วม)
รูปแบบเหมือนลอกจากที่ไหนมา ย้อนกลับไปใช้รุ่นเดิม
Sathi.w (คุย | ส่วนร่วม)
ไม่มีความย่อการแก้ไข
ป้ายระบุ: ผู้ใช้ใหม่เพิ่มลิงก์ไปยังเว็บอื่น
บรรทัด 2:
[[ไฟล์:Kuiper_oort.jpg|thumb|350px|ภาพกราฟิกแสดงเมฆออร์ตและแถบไคเปอร์]]
[[ไฟล์:Oort cloud Sedna orbit-th.svg|thumb|350px|right|ภาพเปรียบเทียบความแตกต่างของระยะทางของเมฆออร์ตเปรียบเทียบกับขนาดของ[[ระบบสุริยะ]]]]
'''เมฆออร์ต''' ({{lang-en|Oort cloud}}) คือเมฆออร์ต คือชั้นเมฆในอวกาศที่ล้อมรอบ[[ระบบสุริยะ]]อยู่เป็นทรงกลม บริเวณซึ่งมีลักษณะเป็นกลุ่มมวลในอวกาศคล้ายชั้นเมฆเหล่านี้ อยู่ห่างจากดวงอาทิตย์ออกไปราวประมาณ 50,000 - 100,000 [[AU (*AU คือหน่วยดาราศาสตร์]] จาก[[1AUเท่ากับระยะทางระหว่างโลกกับดวงอาทิตย์]]) ไกลออกไปจากขอบระบบสุริยะรอบนอก ตำแหน่งของเมฆออร์ตอยู่ในหรือเทียบกับระยะความห่าง 1 ใน 4 ของ[[ระยะทางระหว่างดวงอาทิตย์กับดาวแคระแดง]][[พร็อกซิมาคนครึ่งม้า]] ในกลุ่มเมฆออร์ตนี้มี[[วัตถุพ้นดาวเนปจูน]] อย่าง[[ดาวเคราะห์แคระ]] [[90377 เซดนา]] ที่ถูกค้นพบเมื่อวันที่ 14 พฤศจิกายน พ.ศ. 2546 อยู่ด้วย
ผู้ค้นพบทฤษฎีเกี่ยวกับเมฆออร์ต คือนักดาราศาสตร์ชาวดัตช์ ชื่อว่า Jan Oort
 
เมฆออร์ตถือเป็นวัตถุพ้นดาวเนปจูน คือวัตถุที่โคจรรอบดวงอาทิตย์ในระยะที่ไกลกว่าวงโคจรของดาวเนปจูน และไกลออกไปจากขอบระบบสุริยะรอบนอก จึงถือได้ว่าเมฆออร์ตอยู่บริเวณชายขอบนอกสุดของระบบสุริยะ
วัตถุที่อยู่ในกลุ่มเมฆออร์ตคือส่วนใหญ่เป็นเศษที่เหลือจากการสร้างดาวเคราะห์ เป็นก้อนน้ำแข็งสกปรก มีส่วนประกอบไปด้วย[[ น้ำแข็ง]] [[คาร์บอนไดออกไซด์]] [[มีเทน]] [[แอมโมเนีย]] [[ฝุ่น]] และ[[หิน]] มีขนาดนาดเส้นผ่านผ่าศูนย์กลางตั้งแต่ไม่กี่กิโลเมตรไปจนถึงหลายสิบกิโลเมตร ในเชิงทฤษฎีนักดาราศาตร์เชื่อว่าเป็นต้นกำเนิดของดาวหางเมื่อโคจรเข้ามาสู่ชั้นในของระบบสุริยะ
 
ในอาณาเขตของกลุ่มเมฆออร์ตมีการค้นพบวัตถุพ้นดาวเนปจูนเมื่อวันที่14 พฤศจิกายน พ.ศ.2546 คือ ดาวเคราะห์แคระ 90377 เซดนา และดาวเคราะห์แคระอีกดวงหนึ่งที่เพิ่งถูกค้นพบภายหลังเมื่อวันที่
นักดาราศาสตร์เชื่อกันว่ากลุ่มเมฆออร์ตเป็นแหล่งต้นกำเนิดของ[[ดาวหาง]]
5 พฤศจิกายน พ.ศ.2555 คือ 2012VP113 ซึ่งมีจุดใกล้สุดในวงโคจรห่างกว่าดาวเซดนา
 
เมฆออร์ตตั้งชื่อตามนักดาราศาสตร์ชาวดัตช์ [[ยัน โอร์ต|ยัน แฮ็นดริก โอร์ต]] (Jan Hendrik Oort, 1900 - 1992)
 
เทคโนโลยีในปัจจุบันยังไม่สามารถสำรวจและศึกษาเมฆออร์ตได้มากเท่าใดนักเนื่องจากระยะทางขอบเขตที่กว้างไกลมาก บางข้องมูลของกลุ่มเมฆออร์ตอาจเป็นเพียงทฤษฎีที่สันนิษฐานขึ้นมาเท่านั้น
<br style="clear: both">
 
เส้น 39 ⟶ 41:
</table>
 
== แหล่งข้อมูลอื่นอ้างอิง ==
* [http://spaceflightnow.com/news/n0308/08comets/oortcloud.jpg Representation, Southwest Research Institute]
* [http://web.archive.org/web/20000303081140/http://seds.lpl.arizona.edu/nineplanets/nineplanets/kboc.html The Kuiper Belt and The Oort Cloud]
* [http://www.myfirstbrain.com/student_view.aspx?ID=94598]
 
* [http://thaiastro.nectec.or.th/news/viewnews.php?newsid=202]
{{ระบบสุริยะ}}
{{โครงดาราศาสตร์}}