ผลต่างระหว่างรุ่นของ "รถไฟความเร็วสูง"

เนื้อหาที่ลบ เนื้อหาที่เพิ่ม
Roonie.02 (คุย | ส่วนร่วม)
ไม่มีความย่อการแก้ไข
BotKung (คุย | ส่วนร่วม)
เก็บกวาดบทความด้วยบอต
บรรทัด 81:
ส่วนนี้ไม่อ้างอิงหรือแหล่งอ้างอิงใด ๆ กรุณาช่วยปรับปรุงส่วนนี้โดยการเพิ่มการอ้างอิงถึงแหล่งที่เชื่อถือได้ วัสดุ Unsourced อาจจะท้าทายและลบออก (กรกฎาคม 2013)
 
[[Fileไฟล์:Viaduc de la Haute-Colme 01 09.jpg|thumb|ทางวิ่งความเร็วสูงบนสะพานเพื่อหลีกเลี่ยงทางต่างระดับและทางข้าม]]
 
ตามที่กำหนดโดยยุโรปและ UIC, โดยทั่วไประบบรางความเร็วสูงคือชุดที่รวมทั้งล้อเลื่อนความเร็วสูงและทางวิ่งความเร็วสูงที่สร้างให้โดยเฉพาะ
บรรทัด 91:
ส่วนนี้ไม่อ้างอิงหรือแหล่งอ้างอิงใด ๆ กรุณาช่วยปรับปรุงส่วนนี้โดยการเพิ่มการอ้างอิงถึงแหล่งที่เชื่อถือได้ วัสดุ Unsourced อาจจะท้าทายและลบออก (กรกฎาคม 2013)
 
[[Fileไฟล์:Steigung NIM.jpg|thumb|สายทางความเร็วสูงของเยอรมันที่มีรางวิ่งอยู่บนแผ่นคอนกรีตโดยตรง]]
 
รางวิ่งของรถไฟโดยทั่วไปจะถูกเชื่อมติดกันตลอดสายทางต่อเนื่องเพื่อลดการสั่นสะเทือนและให้อยู่ในแนวความกว้างที่สม่ำเสมอ ({{lang-en|alignment}}). เกือบทุกสายทางความเร็วสูงจะถูกขับเคลื่อนด้วยไฟฟ้าผ่านสายเคเบิ้ลเคเบิลเหนือขบวน, มีระบบการส่งสัญญาณในตัวรถ, และใช้การสับรางที่ก้าวหน้าโดยการเข้ารางที่ใช้มากและใช้ง่ามแบบ "[[:en:Railroad switch#Frog .28common crossing.29|frog]]".
[[Fileไฟล์:Eisenbahnweiche detail.jpg|thumb|left|''frog'' (ซ้าย) and ''guard rail'' (ขวา) ของส่วนสลับราง]]
[[Fileไฟล์:Section through railway track and foundation.png|upright=2.0|thumb|left|ภาพตัดขวางแสดงรางวิ่งและฐานรองจะเห็นการวางเป็นชั้นๆ. แต่ละชั้นจะถูกทำให้ลาดเอียงเล็กน้อยเพื่อระบายน้ำได้โดยสะดวก]]
 
คอคอดทั้งหลาย, เช่นที่จุดตัดต่างๆซึ่งมีหลายสายทางมาบรรจบกันและ/หรือจุดตัดกับถนน, จะต้องไม่มี. ด้วยเหตุนี้ ประเทศญี่ปุ่นและจีนมักจะสร้างรถไฟความเร็วสูงของพวกเขาบนสะพานที่ยกสูง ({{lang-en|elevated viaduct}}). รถไฟความเร็วสูงจะหลีกเลี่ยงทางโค้งที่แคบซึ่งต้องลดความเร็ว. รัศมีความโค้งโดยปกติจะสูงกว่า 4.5 กิโลเมตร (2.8 ไมล์), และสำหรับสายทางที่รองรับความเร็วที่ 350 กิโลเมตร/ชั่วโมง (217 ไมล์ต่อชั่วโมง) จะมีรัศมีปกติที่ 7-9 กิโลเมตร (4.3-5.6 ไมล์). รางวิ่งทั้งหมดจะวางอยู่บนหมอนและแท่นรองหมอนแบบเดิม ({{lang-en|traditional sleeper and ballast}}) (สำหรับรถไฟโบราณจะเป็นเพียงไม้หมอนที่วางบนหินกรวด) หรือวางบนแผ่นคอนกรีตและมีรั้วป้องกันการเข้าถึงรางวิ่งโดยการเดินเท้า.
บรรทัด 101:
====รูปแบบทางคู่ขนานถนนกับรางรถไฟ====
 
[[Fileไฟล์:NIM Baustelle2001 Leidorf Koeschinger Forst.jpg|thumb|สายทางความเร็วสูงของเยอรมันกำลังถูกสร้างขึ้นไปตามทางหลวงสายหนึ่ง]]
 
รูปแบบทางคู่ขนานถนนกับรางรถไฟจะใช้ที่ดินข้างทางหลวงสำหรับทางรถไฟ. ตัวอย่าง ได้แก่ ปารีส/ลียงและโคโลญ - แฟรงค์เฟิร์ต ที่ 15% และ 70% ของรางที่วิ่งอยู่ข้างทางหลวงตามลำดับ<ref>{{cite web|url=http://www.jhcrawford.com/energy/interstaterail.html |title=Interstate Rail Proposal |publisher=J.H. Crawford |accessdate=17 October 2011}}</ref>.
บรรทัด 161:
หัวข้อนี้ต้องการขยายความ date=July 2013
 
เทคโนโลยีที่สำคัญประกอบด้วยการเอียง, การออกแบบอากาศพลศาสตร์(เพื่อลดแรงตัานตัน, การยกตัว, และเสียงรบกวน), เบรคเบรกอากาศ, การเบรคเบรกเพื่อสร้างพลังงานไฟฟ้า, เทคโนโลยีเครื่องยนต์และการยกน้ำหนักพลศาสตร์.
 
ดูเพิ่มเติม: [[:en:List of high-speed trains]]