ผลต่างระหว่างรุ่นของ "พระอภิธรรมปิฎก"

เนื้อหาที่ลบ เนื้อหาที่เพิ่ม
Vee (คุย | ส่วนร่วม)
Vee (คุย | ส่วนร่วม)
บรรทัด 8:
อรรถกา[[อัตถสาลินี]] อันเป็น[[อรรถกา]]ที่อธิบายคัมภีร์สังคณีแห่งพระอภิธรรมปิฎก และอรรถกาธัมมปทัฏฐกถา อันเป็นอรรถกถาที่อธิบายคัมภีร์ธรรมบทแห่งพระสุตตันตปิฎก ว่า พระพุทธเจ้าได้เสด็จขึ้นไปเทศน์พระอภิธรรมโปรดพระพุทธมารดาบนสวรรค์ชั้นดาวดึงส์ในพรรษาที่ 7 หลังจากทรงตรัสรู้ และได้ทรงถ่ายทอดพระอภิธรรมนั้นแก่[[พระสารีบุตร]]ในเวลาต่อมา<ref>พระไตรปิฎก พระอภิธรรม ฉบับภาษาไทย, เล่ม 9/ข้อ 67.</ref>
 
สำนวนในการเขียนพระอภิธรรมปิฎกเป็น "ภาษาหนังสือ" แตกต่างจากสำนวนภาษาในพระวินัยปิฎกและพระสุตตันตปิฎก จึงมีผู้สันนิษฐานว่าพระอภิธรรมปิฎกนี้เป็นของแต่งขึ้นใหม่ภายหลัง<ref>http://www.khaosod.co.th/view_news.php?newsid=TUROamIyd3hPVE13TVRFMU1nPT0=</ref> โดยมีเหตุผล ได้แก่
# สำนวนในการเขียนพระอภิธรรมปิฎกเป็น ''ภาษาหนังสือ'' แตกต่างจากสำนวนภาษาในพระวินัยปิฎกและพระสุตตันตปิฎก
# หลักมหาปเทสให้สาวกเทียบเคียงความถูกต้องกับพระสูตรและพระวินัย ไม่ปรากฏว่าให้เทียบเคียงกับพระอภิธรรมปิฎกเลย
# ข้ออ้างเรื่องพระพุทธเจ้าเสด็จขึ้นไปเทศนาโปรดพระพุทธมารดาที่ดาวดึงส์ ไม่ปรากฏในพระสูตรและพระวินัย
# คำว่า ''อภิธมฺเม'' ที่ปรากฏในพระสูตรบางแห่งหมายถึง [[โพธิปักขิยธรรม]]
# พระพุทธเจ้าตรัสกับสาวกว่า ''ธมฺโม จ วินโย จ'' หมายถึงพระธรรมกับพระวินัยเท่านั้น (ที่ให้เป็นศาสดาแทนต่อไป)
# ''ยญฺจ โข ภควตา ชานตา ปสฺสตา'' ซึ่งแปลว่า "พระผู้มีพระภาคเจ้ารู้อยู่ เห็นอยู่" และ ''วุตฺตญฺเจตํ ภควตา'' ซึ่งแปลว่า ''พระผู้มีพระภาคได้ตรัสไว้ดังนี้'' เป็นสำนวนของ[[พระสังคีติกาจารย์]]
# นิกายสรวาสติวาทิน (นิกายอภิธรรม) ถือว่าพระอภิธรรมปิฎกเป็นสาวกภาษิต
 
== องค์ประกอบ ==