ผลต่างระหว่างรุ่นของ "สัตว์ขาปล้อง"

เนื้อหาที่ลบ เนื้อหาที่เพิ่ม
Nullzerobot (คุย | ส่วนร่วม)
ลบลิงก์ที่ซ้ำซ้อน wikidata
Tatung (คุย | ส่วนร่วม)
ไม่มีความย่อการแก้ไข
บรรทัด 40:
สัตว์ขาปล้องจะมีลักษณะของลำตัวเป็นปล้อง ๆ บางจำพวกนั้นสามารถแยกส่วนต่าง ๆ ของร่างกายออกเป็น 3 ส่วน คือส่วนหัว ส่วนอกและส่วนท้อง แต่ก็มีสัตว์ขาปล้องบางจำพวกที่มีส่วนต่าง ๆ ของร่างกายเพียงแค่ 2 ส่วน คือมีเพียงแค่ส่วนหัวกับส่วนอกติดกันและส่วนท้องเท่านั้นเอง
 
สัตว์ขาปล้องจะมีช่องเปิดที่สำคัญ มีลักษณะเป็นรูจำนวน 2 รู และมีอวัยวะรับความรู้สึกที่ดี เคลื่อนที่ไปมาได้อย่างรวดเร็ว และหาอาหารได้อย่างง่ายดาย อาศัยอยู่เกือบทุกแห่งของโลก หรืออาจเรียกได้ว่าสัตว์ขาปล้องนั้นมีถิ่นอาศัยอยู่ทุกแห่งในโลก เรียกได้ว่าประมาณ 3/ ใน 4 ของสัตว์ทั้งหลายภายในโลก คือสัตว์จำพวกสัตว์ขาปล้อง
 
== การจัดจำแนก ==
บรรทัด 46:
* ไฟลัมย่อย[[ไทรโลบิโตมอร์ฟา]] สูญพันธุ์ไปหมดแล้ว พบแต่ในซากชีวิตโบราณ ถือว่าเป็นสัตว์ขาปล้องกลุ่มแรก
* ไฟลัมย่อย[[เชลิเซอราตา]] ลำตัวแบ่งเป็นสองส่วนคือส่วนหัวและอกรวมเป็นชิ้นเดียวเรียกเซฟาโลทอแรกซ์ กับส่วนท้อง มีรยางค์สำคัญ 1 คู่ข้างหน้า ใช้หาอาหาร แบ่งย่อยเป็น
** [[แมงดาทะเล|ชั้นเมโรสโตมาตา]] มีขาเดิน 5 คู่ ใช้เหงือกหายใจ เช่น [[แมงดาทะเล]]
** [[Arachnida|ชั้นอะแรกนิดา]] มีขาเดิน 4 คู่ ใช้[[ปอด]] (book lung) หายใจ เช่น [[แมงมุม]] [[แมงป่อง]] [[เห็บ]]แข็งใน[[สุนัข]]
* ไฟลัมย่อย[[ครัสตาเชีย]] เซฟาโลทอแรกซ์มีระยางค์ 5 คู่ แต่ละคู่มี 2 ก้าน ส่วนท้ายมีระยางค์อีก 8 คู่ อวัยวะรับความรู้สึกมีตาประกอบเป็นก้าน ขนแข็งทั่วตัวใช้รับสัมผัสและอวัยวะเกี่ยวกับการทรงตัว ระบบสืบพันธุ์แยกเพศกัน ปฏิสนธิภายใน ตัวอ่อนลอกคราบหลายครั้งกว่าจะเป็นตัวเต็มวัย ชั้นที่สำคัญได้แก่
** [[ชั้นแบรงคิโอโพดา]] เช่น [[ไรน้ำ]] [[ไรแดง]] [[ไรสีน้ำตาล]]
** [[ชั้นโคพีโพดา]] เช่น [[เหาปลา]]
** [[ชั้นเซอร์ริพีเดีย]] เช่น [[เพรียงคอห่าน]] [[เพรียงหิน]]
** [[ชั้นมาลาคอสตรากา]] เช่น [[กุ้งก้ามกราม]] [[กั้ง]] [[กุ้งเต้น]] [[จักจั่นทะเล]] [[ปูม้า]]
* ไฟลัมย่อย[[ยูนิราเมีย]] มีระยางค์ซึ่งไม่มีแขนง มีแอนเทนนาคู่เดียว กรามไม่แบ่งเป็นปล้อง แบ่งเป็น
** [[Chilopoda|ชั้นไคโลโพดา]] เช่น[[ตะขาบ]]
บรรทัด 58:
** [[Diplopoda|ชั้นดิโพลโพดา]] เช่น [[กิ้งกือ]] [[กิ้งกือกระสุน]]
** [[ชั้นปัวโรโพดา]] ลักษณะโดยทั่วไปคล้ายชั้นซิมไฟลา
** [[แมลง|ชั้นอินเซคตา]] ได้แก่ [[แมลง]] เช่น [[ตั๊กแตน]] [[มด]] [[ปลวก]] [[เหา]] [[ชีปะขาว]] [[แมลงสาบ]]
 
==อ้างอิง==
* เพทาย บุณยรัตพันธุ์ และ รัตน์สุณี สุขพณิชนันท์. '''ชีววิทยา 1''' (แอคทีฟพริ้นท์, กรุงเทพฯ; 2557; หน้า 150)
 
==แหล่งข้อมูลอื่น==
{{รายการอ้างอิง}}