ผลต่างระหว่างรุ่นของ "พระราชวังฤดูร้อนเดิม"

เนื้อหาที่ลบ เนื้อหาที่เพิ่ม
Nullzerobot (คุย | ส่วนร่วม)
ลบลิงก์ที่ซ้ำซ้อน wikidata
Tiemianwusi (คุย | ส่วนร่วม)
ไม่มีความย่อการแก้ไข
บรรทัด 1:
[[ไฟล์:Yuanmingyuan zuoshi.jpg|thumb|ภาพวาดแสดงพระราชวังหยวนหมิงหยวนเยฺวี๋ยนหมิงเยฺวี๋ยน]]
[[ไฟล์:Looting of the Yuan Ming Yuan by Anglo French forces in 1860.jpg|thumb|ภาพวาดแสดงการปล้มสะดม และขนโบราณวัตถุออกจากพระราชวัง โดยกองทหารฝรั่งเศส]]
[[ไฟล์:Yuanmingyuan04.jpg|thumb|ซากปรักหักพังของหยวนหมิงหยวนเยฺวี๋ยนหมิงเยฺวี๋ยน]]
'''พระราชวังฤดูร้อนแห่งเดิม''' ({{lang-en|Old Summer Palace}}) เป็นที่รู้จักในชื่อ '''หยวนหมิงหยวน''' ({{zh-all|t=圓明園|s=圆明园|p=Yuánmíng Yuán}}; {{lang-en|Gardens of Perfect Brightness}}) เดิมมีชื่อเรียกว่า '''ยู่หยวน''' ({{zh-all|s=御园|t=御園|p=Yù Yuán}}; {{lang-en|Imperial Gardens}}) เป็นกลุ่มพระราชวัง และสวนหย่อม ตั้งอยู่บริเวณชาน[[กรุงปักกิ่ง]] ห่างจาก[[พระราชวังต้องห้าม]]ไปทางทิศตะวันตกเฉียงเหนือประมาณ 8 กิโลเมตร ในบริเวณใกล้เคียงกับ[[พระราชวังฤดูร้อนอี๋เหอหยวน]]
 
'''พระราชวังฤดูร้อนแห่งเดิม''' ({{lang-en|Old Summer Palace}}) เป็นที่รู้จักในชื่อ '''หยวนหมิงหยวนเยฺวี๋ยนหมิงเยฺวี๋ยน''' ({{zh-all|t=圓明園|s=圆明园|p=Yuánmíng Yuán}}; {{lang-en|Gardens of Perfect Brightness}}) เดิมมีชื่อเรียกว่า '''ยู่หยวนเยฺวี๋ยน''' ({{zh-all|s=御园|t=御園|p=Yù Yuán}}; {{lang-en|Imperial Gardens}}) เป็นกลุ่มพระราชวัง และสวนหย่อม ตั้งอยู่บริเวณชาน[[กรุงปักกิ่ง]] ห่างจาก[[พระราชวังต้องห้าม]]ไปทางทิศตะวันตกเฉียงเหนือประมาณ 8 กิโลเมตร ในบริเวณใกล้เคียงกับ[[พระราชวังฤดูร้อนอี๋เหอหยวนอเยฺวี๋ยน]]
หยวนหมิงหยวน สร้างขึ้นในคริสต์ศตวรรษที่ 18 ถึงต้นศตวรรษที่ 19 เพื่อเป็นที่ประทับของ[[จักรพรรดิ]][[ราชวงศ์ชิง]] มีเนื้อที่ประมาณ 3.5 [[ตารางกิโลเมตร]] พระตำหนักส่วนใหญ่สร้างด้วยหิน ตามแบบ[[สถาปัตยกรรมตะวันตก]] จากการออกแบบของ Giuseppe Castiglione และ Michel Benoist สถาปนิก[[เยซูอิต]]ชาว[[อิตาลี]] <ref>[http://www.manager.co.th/China/ViewNews.aspx?NewsID=9520000021396 รอยอัปยศที่ไม่มีวันลบเลือนจากสงคราม "ปล้นสมบัติจีน"] ASTV ผู้จัดการ, 26 กุมภาพันธ์ 2552</ref>
 
หยวนหมิงหยวนเยฺวี๋ยนหมิงเยฺวี๋ยน สร้างขึ้นในคริสต์ศตวรรษที่ 18 ถึงต้นศตวรรษที่ 19 เพื่อเป็นที่ประทับของ[[จักรพรรดิ]][[ราชวงศ์ชิง]] มีเนื้อที่ประมาณ 3.5 [[ตารางกิโลเมตร]] พระตำหนักส่วนใหญ่สร้างด้วยหิน ตามแบบ[[สถาปัตยกรรมตะวันตก]] จากการออกแบบของ Giuseppe Castiglione และ Michel Benoist สถาปนิก[[เยซูอิต]]ชาว[[อิตาลี]] <ref>[http://www.manager.co.th/China/ViewNews.aspx?NewsID=9520000021396 รอยอัปยศที่ไม่มีวันลบเลือนจากสงคราม "ปล้นสมบัติจีน"] ASTV ผู้จัดการ, 26 กุมภาพันธ์ 2552</ref>
พระราชวังหยวนหมิงหยวน เริ่มสร้างในปี [[ค.ศ. 1707]] ในรัชกาล[[จักรพรรดิคังซี]] เพื่อพระราชทานแก่พระราชโอรสองค์ที่สี่ ซึ่งต่อมาได้ครองราชย์เป็น[[จักรพรรดิหย่งเจิ้น]] และทรงขยายอาณาเขตพระราชวัง ในปี ค.ศ. 1725 และได้มีการบูรณะอีกครั้งในสมัย[[จักรพรรดิเฉียนหลง]] และใช้เป็นพระราชวังที่ประทับของสมเด็จพระจักรพรรดิ เป็นเวลาถึง 150 ปี
 
พระราชวังหยวนหมิงหยวนเยฺวี๋ยนหมิงเยฺวี๋ยน เริ่มสร้างในปี [[ค.ศ. 1707]] ในรัชกาล[[จักรพรรดิคังซี]] เพื่อพระราชทานแก่พระราชโอรสองค์ที่สี่ ซึ่งต่อมาได้ครองราชย์เป็น[[จักรพรรดิหย่งเจิ้น]] และทรงขยายอาณาเขตพระราชวัง ในปี ค.ศ. 1725 และได้มีการบูรณะอีกครั้งในสมัย[[จักรพรรดิเฉียนหลง]] และใช้เป็นพระราชวังที่ประทับของสมเด็จพระจักรพรรดิ เป็นเวลาถึง 150 ปี
พระราชวังหยวนหมิงหยวน ถูกเผาทำลายในช่วงปลายของ[[สงครามฝิ่น]]ครั้งที่สอง ในปี [[ค.ศ. 1860]] โดยกองทหาร[[ฝรั่งเศส]] บุกเข้ายึดพระราชวัง ซึ่งเป็นที่ประทับของ[[จักรพรรดิเสียนเฟิง]] ในกลางดึกของคืนวันที่ [[6 ตุลาคม]] ค.ศ. 1860 ต่อมาในวันที่ [[18 ตุลาคม]] [[ลอร์ดเจมส์ บรูซ แห่งเอลกิน]] ผู้สำเร็จราชการของ[[อังกฤษ]] ได้สั่งการให้กองทหารอังกฤษ จำนวน 3,500 คน บุกเข้าเผาทำลายพระราชวัง เพื่อเป็นการตอบโต้ราชสำนักจีน ที่สั่งทรมานและประหารชีวิตนักโทษชาวยุโรป และอินเดีย จำนวน 20 คน <ref>Garnet Wolseley, Garnet. (1862). [http://ringmar.net/europeanfury/?page_id=1165 ''Narrative of the War with China in 1860.''] London: Longman, Green, Longman & Robert.</ref> โดยใช้เวลาเผาทำลายถึง 3 วัน
 
พระราชวังหยวนหมิงหยวนเยฺวี๋ยนหมิงเยฺวี๋ยน ถูกเผาทำลายในช่วงปลายของ[[สงครามฝิ่น]]ครั้งที่สอง ในปี [[ค.ศ. 1860]] โดยกองทหาร[[ฝรั่งเศส]] บุกเข้ายึดพระราชวัง ซึ่งเป็นที่ประทับของ[[จักรพรรดิเสียนเฟิง]] ในกลางดึกของคืนวันที่ [[6 ตุลาคม]] ค.ศ. 1860 ต่อมาในวันที่ [[18 ตุลาคม]] [[ลอร์ดเจมส์ บรูซ แห่งเอลกิน]] ผู้สำเร็จราชการของ[[อังกฤษ]] ได้สั่งการให้กองทหารอังกฤษ จำนวน 3,500 คน บุกเข้าเผาทำลายพระราชวัง เพื่อเป็นการตอบโต้ราชสำนักจีน ที่สั่งทรมานและประหารชีวิตนักโทษชาวยุโรป และอินเดีย จำนวน 20 คน <ref>Garnet Wolseley, Garnet. (1862). [http://ringmar.net/europeanfury/?page_id=1165 ''Narrative of the War with China in 1860.''] London: Longman, Green, Longman & Robert.</ref> โดยใช้เวลาเผาทำลายถึง 3 วัน
ในยุคปัจจุบัน ทางการจีนเคยพิจารณาถึงความเป็นไปได้ที่จะสร้างพระราชวังหยวนหมิงหยวนขึ้นมาใหม่ แต่ในที่สุดก็ได้ตัดสินใจอนุรักษ์ซากปรักหักพังไว้ในสภาพเดิม
 
ในยุคปัจจุบัน ทางการจีนเคยพิจารณาถึงความเป็นไปได้ที่จะสร้างพระราชวังหยวนหมิงหยวนเยฺวี๋ยนหมิงเยฺวี๋ยนขึ้นมาใหม่ แต่ในที่สุดก็ได้ตัดสินใจอนุรักษ์ซากปรักหักพังไว้ในสภาพเดิม
 
==อ้างอิง==
เส้น 18 ⟶ 19:
{{คอมมอนส์|Yuanmingyuan}}
* {{zh icon}} [http://www.yuanmingyuanpark.com เว็บไซต์ทางการ]
* [http://www.manager.co.th/China/ViewNews.aspx?NewsID=9470000070949 ‘หยวนหมิงหยวน’เยฺวี๋ยนหมิงเยฺวี๋ยน’ ความงามที่จากไป] ผู้จัดการออนไลน์, 22 ตุลาคม 2547
 
{{coord|40|00|26|N|116|17|33|E|region:CN-11_type:landmark|display=title}}