ผลต่างระหว่างรุ่นของ "สมเด็จพระยอดฟ้า"

เนื้อหาที่ลบ เนื้อหาที่เพิ่ม
Tiemianwusi (คุย | ส่วนร่วม)
ไม่มีความย่อการแก้ไข
ต่างมารดานี้หมายถึงพระไชยกับพระเฑียร
บรรทัด 22:
'''พระยอดฟ้า'''<ref name = "royin">{{cite web | url = http://www.royin.go.th/th/knowledge/detail.php?ID=968 | publisher = ราชบัณฑิตยสถาน | title = พระนามพระมหากษัตริย์สมัยอยุธยา | date = 2002-06-03 | accessdate = 2014-07-19 }}</ref> หรือ '''พระแก้วฟ้า'''<ref name = "royin"/> (ประมาณ พ.ศ. 2079<ref name = "sac"/> – 10 มิถุนายน พ.ศ. 2091<ref name = "sac3"/>) เป็นพระมหากษัตริย์พระองค์ที่ 14 แห่ง[[กรุงศรีอยุธยา]]จาก[[ราชวงศ์สุพรรณภูมิ]]<ref name = "sac"/>
 
พระยอดฟ้าเป็นพระราชโอรสของใน[[สมเด็จพระไชยราชาธิราช]] กับ[[นางพระยาแม่อยู่หัวศรีสุดาจันทร์|ท้าวศรีสุดาจันทร์]] พระสนมเอกฝ่ายซ้าย<ref name = "sac"/><ref name="พระราชพงศาวดารกรุงศรีอยุธยา ฉบับพันจันทนุมาศ (เจิม)">''พระราชพงศาวดารกรุงศรีอยุธยา ฉบับพันจันทนุมาศ (เจิม)'', นนทบุรี : ศรีปัญญา, 2553, หน้า 6663-7</ref> เสวยราชย์ตั้งแต่ พ.ศ. 2089 จนถึงสิ้นพระชนม์ด้วยการถูกสำเร็จโทษ
 
== พระราชกำเนิด ==
 
พระยอดฟ้าประสูติประมาณ พ.ศ. 2079<ref name = "sac">{{cite book | author = มูลนิธิสมเด็จพระเทพรัตนราชสุดา | title = นามานุกรมพระมหากษัตริย์ไทย | url = http://www.sac.or.th/main/pdf/Thai_king_directories.pdf | publisher = มูลนิธิสมเด็จพระเทพรัตนราชสุดา | location = กรุงเทพฯ | year = 2554 | page = 97}}</ref> เป็นพระราชโอรสของในสมเด็จพระไชยราชาธิราช กับท้าวศรีสุดาจันทร์ พระสนมเอกฝ่ายซ้าย<ref name = "sac"/> มีพระอนุชาหนึ่งองค์ พระองค์คือ [[พระศรีศิลป์]] พระชันษาอ่อนกว่าหกปี<ref name = "sac"/>พระราชพงศาวดารกรุงศรีอยุธยา [[Fernão Mendes Pinto|เฟอร์เนา เมนเดส ปินโต]]ฉบับพันจันทนุมาศ (Fernão Mendes Pintoเจิม) ว่า พระยอดฟ้ากับพระศรีศิลป์คนละมารดากัน<ref name = "dr"/>{{cite book | author = กรมพระยาดำรงราชานุภาพ | date = 2494 | title = ชุมนุมพระนิพนธ์ ภาค 2 | url = http://www.thapra.lib.su.ac.th/objects/rarebook/r543/AC159%E0%B8%94687.pdf | location = พระนคร | publisher = กรมศิลาปกร | page = 234}}</ref>
 
== การครองราชย์ ==
 
สมเด็จพระไชยราชาธิราชสวรรคตใน พ.ศ. 2089 พระยอดฟ้าจึงสืบราชสมบัติต่อ เวลานั้น มีพระชนม์สิบเอ็ดปีชนมายุ 11 พรรษา [[พระราชพงศาวดารกรุงศรีอยุธยา ฉบับพันจันทนุมาศ (เจิม)|พระราชพงศาวดาร]]บันทึกว่า "นางพระยาแม่อยู่หัวศรีสุดาจันทร์ผู้เป็นสมเด็จพระชนนีช่วยทำนุบำรุงประคองราชการแผ่นดิน"<ref name = "sacพระราชพงศาวดารกรุงศรีอยุธยา ฉบับพันจันทนุมาศ (เจิม)"/> การเมืองยามนั้นยังวุ่นวาย [[สมเด็จพระมหาจักรพรรดิ|พระเฑียรราชา]] เชื้อพระบรมวงศ์ฝ่ายสมเด็จพระไชยราชาธิราช น่าจะเป็นกำลังสำคัญในการประคับประคองราชการแผ่นดินได้ แต่กลับเกรงราชภัย หนีไปผนวชที่[[วัดราชประดิษฐาน]] ตำบลท่าทราย ในกรุงศรีอยุธยา ตลอดรัชกาลพระยอดฟ้า<ref name = "sac"/><ref name = "dr">{{cite book | author = กรมพระยาดำรงราชานุภาพ | date = 2494 | title = ชุมนุมพระนิพนธ์ ภาค 2 | url = http://www.thapra.lib.su.ac.th/objects/rarebook/r543/AC159%E0%B8%94687.pdf | location = พระนคร | publisher = กรมศิลาปกร | page = 234}}</ref>
 
พงศาวดารของ[[จดหมายเหตุวันวลิต]]ว่า พระยอดฟ้าโปรด "ทรงม้าไปตามป่าตามทุ่งและไร่นา ชนช้าง ทรงพระแสงฝึกหัดขัตติยวิชา" และ "ในรัชกาลของพระองค์บ้านเมืองอุดมสมบูรณ์ทุกแห่งหน มิได้อดอยากแห้งแล้ง"<ref name = "sac"/> ขณะที่พงศาวดารหลายฉบับของไทยบันทึกเกี่ยวกับนิมิตร้ายหลายประการซึ่งเกิดขึ้นหลังจากที่พระยอดฟ้าเสด็จสู่ราชสมบัติได้ไม่นาน เช่น คราวที่เสด็จออกสนามชนช้าง งาช้างที่ชื่อ "พระยาไฟ" ก็หักออกเป็นสามท่อน พอเวลาค่ำ ช้างต้นชื่อ "พระฉัททันต์" ร้องเหมือนเสียงคนร้องไห้ ทั้งได้ยินเสียงร้องออกมาจากประตูไพชยนต์<ref name = "sacพระราชพงศาวดารกรุงศรีอยุธยา ฉบับพันจันทนุมาศ (เจิม)"/>
 
ในเวลานั้น ท้าวศรีสุดาจันทร์ พระราชมารดาซึ่งสำเร็จราชการ ลักลอบเป็นชู้กับ[[ขุนวรวงศาธิราช|พันบุตรศรีเทพ]] พนักงานรักษาหอพระข้างหน้า ท้าวศรีสุดาจันทร์จึงมีพระเสาวนีย์ให้พระยาราชภักดีเลื่อนพันบุตรศรีเทพขึ้นเป็นขุนชินราช พนักงานรักษาหอพระข้างใน<ref name = "sac2">{{cite book | author = มูลนิธิสมเด็จพระเทพรัตนราชสุดา | title = นามานุกรมพระมหากษัตริย์ไทย | url = http://www.sac.or.th/main/pdf/Thai_king_directories.pdf | publisher = มูลนิธิสมเด็จพระเทพรัตนราชสุดา | location = กรุงเทพฯ | year = 2554 | page = 100–101}}</ref> ครั้นท้าวศรีสุดาจันทร์ทรงครรภ์กับขุนชินราช เห็นว่า จะปิดความไว้ไม่ได้อีกต่อไป จึงคิดอ่านยกขุนชินราชขึ้นเป็นพระเจ้าแผ่นดิน เริ่มด้วยการเลื่อนขุนชินราชเป็นขุนวรวงศาธิราช ให้สิทธิ์ขาดในการเกณฑ์และคุมกำลังคน ปลูกจวนให้อยู่ที่ริมศาลาสารบัญชีใกล้กำแพงวัง และปลูกศาลาให้นั่งว่าราชการในวังตรงประตูดินริมต้นหมัน ทั้งนี้ เพื่อให้ข้าราชการทั้งหลายยำเกรง<ref name = "sac2"/> พระยามหาเสนา ข้าราชการผู้ใหญ่ เห็นสถานการณ์น่าเป็นห่วง ก็ปรารภกับข้าราชการคนอื่น ๆ พระยามหาเสนาจึงถูกท้าวศรีสุดาจันทร์กำจัด<ref name = "sac2"/>
 
ครั้นสถานการณ์สุกงอมใน พ.ศ. 2091 ท้าวศรีสุดาจันทร์ก็ทรงเรียกประชุมข้าราชการ ตรัสว่า พระยอดฟ้ายังทรงพระเยาว์นัก เหตุการณ์ทางเหนือก็ยังไม่สงบ มีพระดำริว่า "เราคิดว่า จะให้ขุนวรวงศาธิราชว่าราชการแผ่นดินกว่าราชบุตรเราจะจำเริญวัยขึ้น" ข้าราชการทั้งหลายขัดไม่ได้ก็ยินยอม ท้าวศรีสุดาจันทร์จึงให้เอาราชรถและเครื่องสูงต่าง ๆ ตั้งกระบวนไปรับขุนวรวงศาธิราชเข้ามาราชาภิเษก<ref name = "sac2"/> เมื่อขุนวรวงศาธิราชได้เป็นพระเจ้าแผ่นดินแล้ว ก็ให้เอาพระยอดฟ้าไปสำเร็จโทษที่[[วัดโคกพระยา]] ส่วนพระศรีศิลป์ พระอนุชานั้น มีพระชนมายุเพียงเจ็ดปี 7 พรรษา จึงไว้ชีวิต<ref name = "sac"/>
 
จดหมายเหตุโหรว่า พระยอดฟ้าทรงถูกฆ่าสำเร็จโทษเมื่อวันอาทิตย์ ขึ้นห้าค่ำ เดือนแปด ปีจอ จ.ศ. 910 ตรงกับวันที่ 10 มิถุนายน พ.ศ. 2091 ทรงอยู่ในราชสมบัติสองปีเศษ สิริพระชนม์สิบสามชนมายุ 13 พรรษาเศษ<ref name = "sac3">{{cite book | author = มูลนิธิสมเด็จพระเทพรัตนราชสุดา | title = นามานุกรมพระมหากษัตริย์ไทย | url = http://www.sac.or.th/main/pdf/Thai_king_directories.pdf | publisher = มูลนิธิสมเด็จพระเทพรัตนราชสุดา | location = กรุงเทพฯ | year = 2554 | page = 98}}</ref>
 
== ราชตระกูล ==