ผลต่างระหว่างรุ่นของ "มาระโกผู้นิพนธ์พระวรสาร"

เนื้อหาที่ลบ เนื้อหาที่เพิ่ม
OctraBot (คุย | ส่วนร่วม)
replaceViaSearch: กะลาสี
ไม่มีความย่อการแก้ไข
บรรทัด 1:
{{ป้ายเตือนปีคศ}}
{{กล่องข้อมูล นักบุญ
| ชื่อ =นักบุญมาระโกผู้นิพนธ์พระวรสาร
| ภาพ =Angelo Bronzino 008.jpg
| ขนาดภาพ =
| คำบรรยายภาพ =มาระโกผู้นิพนธ์พระวรสาร วาดโดย[[บรอนซีโน]]
| หัวข้อ = [[ผู้นิพนธ์พระวรสารและ[[มรณสักขีในศาสนาคริสต์วรสารสี่ท่าน|มรณสักขีผู้นิพนธ์พระวรสาร]]
| วันเกิด =
| เกิดที่ =
บรรทัด 20:
| วันสมโภช =25 เมษายน
| สัญลักษณ์ =สิงโต [[บิชอป]]บนบัลลังก์มีรูปสิงโต คนช่วยชาวเรือชาว[[เวนิส]] คนถือหนังสือชื่อ “pax tibi Marce” คนถือหนังสือและใบปาล์ม คนถือหนังสือหรือม้วนหนังสือกับสิงโตมีปีก <br />ฯลฯ
| ผู้พิทักษ์ =[[ทนายความ]] ([[เวนิส]]) และอื่นๆเป็นต้น
}}
'''มาระโกผู้นิพนธ์พระวรสาร'''<ref>ราชบัณฑิตยสถาน, ''พจนานุกรมศัพท์ศาสนาสากล อังกฤษ-ไทย ฉบับราชบัณฑิตยสถาน'', พิมพ์ครั้งที่ 3, ราชบัณฑิตยสถาน, 2552, หน้า 203-4</ref><ref>[http://www.catholic.or.th/spiritual/books/saints/saintsapr/apr25.html ประวัตินักบุญตลอดปี: นักบุญมาระโก]</ref> ({{lang-en|Mark the Evangelist}}; {{lang-he|מרקוס}}; {{lang-gr|Μάρκος}}) เป็นหนึ่งใน[[ผู้นิพนธ์พระวรสารสี่ท่าน]] อีกสามท่านได้แก่[[มัทธิวผู้นิพนธ์พระวรสาร|มัทธิว]] [[ยอห์นผู้นิพนธ์พระวรสาร|ยอห์น]] และ[[ลูกาผู้นิพนธ์พระวรสาร|ลูกา]] เชื่อกันว่าเป็นผู้ประพันธ์[[พระวรสารนักบุญมาระโก]]ซึ่งเป็นเอกสารส่วนหนึ่งของ[[พันธสัญญาใหม่]]และเป็นเพื่อนกับ[[ซีโมนเปโตร]] นักบุญมาระโกได้ร่วมเดินทางกับ[[เปาโลอัครทูต|เปาโล]]และ[[บารนาบัส]]เมื่อนักบุญเปาโลเริ่มเดินทางไปเผยแพร่ศาสนาเป็นครั้งแรก หลังจากที่มีข้อขัดแย้งกัน บารนาบัสก็แยกตัวจากเปาโลโดยเอามาระโกไป[[ประเทศไซปรัส|ไซปรัส]]ด้วย (กิจการของอัครทูต 15:36-40) การแยกตัวครั้งนี้ทำให้เกิด[[พระวรสารนักบุญมาระโก]]ขึ้น ต่อมาเปาโลเรียกตัวมาระโกกลับมา ฉะนั้นมาระโกจึงกลับมาเป็นผู้ติดตามเปาโลอีกครั้ง
 
[[คริสตจักร]][[คอปติกออร์ทอดอกซ์]]ถือว่ามาระโกเป็นผู้วางรากฐานคริสต์ศาสนาใน[[ทวีปแอฟริกา]] เป็นคนแรกที่ดำรงตำแหน่ง[[อัครบิดรแห่งอะเล็กซานเดรีย|บิชอปแห่งอะเล็กซานเดรีย]]
 
เช่นเดียวกับผู้นิพนธ์พระวรสารอีกสามองค์นักบุญมาระโกมักจะปรากฏในภาพเขียนทางคริสต์ศาสนาใช้สัญลักษณ์สิงโต ซึ่งเป็นสัญลักษณ์ตาม[[หนังสือดาเนียล]]บทที่ 7 (Book of Daniel)
 
== ประวัติ ==
บรรทัด 32:
 
อาจจะเป็นไปได้ว่าการใช้ชื่อ “มาระโก” ในพันธสัญญาใหม่อาจจะหมายถึงคนหลายคน หรือคนหลายคนที่ว่าอาจจะเป็นคนคนเดียวกันก็ได้ ในการตีความหมาย, “ยอห์น มาระโก” ใน “กิจการของอัครทูต” 12:12, 25, 15:37 กล่าวถึงเพียง “ยอห์น” ใน “กิจการของอัครทูต” 13:5, 13:13 และ “มาระโก” ใน“กิจการของอัครทูต” 15:39 ซึ่งเป็นคนคนเดียวกันกับ “มาระโก” ที่กล่าวถึงในจดหมายเหตุของนักบุญเปาโล โคลอสเซียน
[http://bible.crosswalk.com/OnlineStudyBible/bible.cgi?new=1&word=Col+4%3A10&section=0&version=str&language=en 4:10], ทิโมธี2 4:11, ฟีเลโมน 24 และ ปีเตอร์1 5:13. “มาระโก” ในจดหมายเหตุของนักบุญเปาโลกล่าวว่าเป็นลูกพี่ลูกน้องของบาร์นาบัสบารนาบัส (โคลอสเซียน 4:10) จึงเป็นสาเหตุที่อธิบายได้ถึงความผูกพันระหว่างมาระโกกับบาร์นาบัสเมื่อมีเรื่องกับนักบุญพอลเปาโล (กิจการของสาวก 15:37-40) แม่ของมาระโกเป็นผู้นำทางคริสต์ศาสนาคริสตจักรในกรุง[[เยรูซาเลม]] บ้านของแม่ของมาระโกเป็นที่เป็นที่พบปะของ[[คริสต์ศาสนิกชน]]และเป็นที่ที่เปโตรไปพักหลังจากที่ถูกปล่อยตัวจากคุก (กิจการของสาวก 12:12-17)
 
หลักฐานว่านักบุญมาระโกเป็นผู้นิพนธ์พระวรสารนักบุญมาระโกมาจาก[[นักบุญพาเพียส]] (Papias)<ref>Harrington, Daniel J. (1990), "The Gospel According to Mark", in Brown, Raymond E.; Fitzmyer, Joseph A. & Murphy, Roland E., The New Jerome Biblical Commentary, Englewood Cliffs, NJ: Prentice Hall, pp. 596, ISBN 0-13-614934-0</ref> <ref>^ University of Navarre (1999), The Navarre Bible: Saint Mark’s Gospel (2nd ed.), Dublin: Four Court’s Press, pp. 55, ISBN 1-85182-092-2</ref>.
บรรทัด 40:
หรือเป็นชายหนุ่มไม่นุ่งผ้าที่วิ่งหนีเมื่อพระเยซูถูกจับ (มาระโก 14:51-52)<ref>University of Navarre (1999), The Navarre Bible: Saint Mark’s Gospel (2nd ed.), Dublin: Four Court’s Press, pp. 179, ISBN 1-85182-092-2</ref> และเป็นคนที่รับรองสาวกในบ้านหลังจากที่พระเยซูสิ้นพระชนม์และเป็นบ้านที่พระเยซูกลับมาหลังจากคืนชีพ (ยอห์น 20)
 
ที่[[ประเทศอียิปต์]] เชื่อกันว่ามาระโกสร้างปาฏิหาริย์ไว้หลายอย่าง ได้สร้างโบสถ์ที่นั่น และได้แต่งตั้งอาร์ชบิชอปอันเนียนุสแห่ง[[อาเนียนุสแห่งอะเล็กซานเดรีย]] (Anianus of Alexandria) และ[kms];'ให้สืบตำแหน่งอื่น ๆบิชอปแทนตน เมื่อนักบุญมาระโกกลับมาอะเล็กซานเดรีย ว่ากันว่าประชาชนที่นั่นไม่พอใจที่นักบุญมาระโกพยายามสั่งสอนให้เลิกนับถือเทวรูปต่าง ๆ ที่เคยทำกันมา เมื่อปี ค.ศ. 67 ประชาชนก็จับนักบุญมาระโกผูกกับม้าแล้วลากไปรอบเมืองจนท่านเสียชีวิต แต่ฝ่ายโรมันคาทอลิกยังตั้งข้อสงสัยกับความเชื่อนี้
 
[[ไฟล์:Folio 19v - The Martyrdom of Saint Mark.jpg|thumb|250px|การเป็นมรณสักขีของนักบุญมาระโก]]
บรรทัด 47:
เมื่อปี ค.ศ. 828 [[เรลิก]]ที่เชื่อกันว่าเป็นร่างของนักบุญมาระโกถูกพ่อค้าชาว[[เวนิส]]สองคนขโมยไปจากอเล็กซานเดรียไปไว้ที่เวนิส ขณะนั้นในสมัยไบเซ็นไทน์เวนิสมีนักบุญทีโอดอร์เป็นนักบุญประจำเมือง แต่เมื่อได้ร่างของนักบุญมาระโกมาทางเมืองเวนิสก็สร้างมหาวิหารใหญ่เป็นที่เก็บเรลิกของนักบุญมาระโก ภายใน[[มหาวิหารเวนิส]]มีภาพโมเสกแสดงให้เห็นกะลาสีคลุมร่างของนักบุญมาระโกเป็นชั้น ๆ ด้วยหมู จึงสามารถทำให้ลักลอบออกมาได้จากอียิปต์ได้เพราะชาว[[มุสลิม]]ห้ามแตะต้องหมู
 
นิกาย[[คอปติกออร์ทอดอกซ์]]ยังเชื่อกันว่ากะโหลกของนักบุญมาระโกยังอยู่ที่อะเล็กซานเดรีย ทุกปีทุกวันที่ 30 ของเดือน Babah คริสตจักรคอปติกออร์โธดอกซ์กออร์ทอดอกซ์ก็จะฉลองวันสถาปนาโบสถ์นักบุญมาระโก และการปรากฏกะโหลกของนักบุญมาระโกที่อเล็กซานเดรีย งานฉลองนี้ทำกันที่มหาวิหารคอปติกออร์ทอดอกซ์นักบุญมาระโกซึ่งเป็นที่เก็บศีรษะนักบุญมาระโก
 
เมื่อปี ค.ศ. 1063 ระหว่างการก่อสร้าง[[มหาวิหารซันมาร์โก]]ที่เวนิส เรลิกนักบุญมาระโกก็หายไป แต่ตามที่เล่ากันในปี 1094 นักบุญมาระโกเองมาปรากฏบอกที่ตั้งของเรลิกของท่านเอง<ref>{{cite book
บรรทัด 59:
== อ้างอิง ==
{{รายการอ้างอิง}}
 
== ข้อมูลเพิ่มเติม ==
* [[โรมันคาทอลิก]]
* [[พันธสัญญาใหม่]]
* [[พระวรสาร]]
** [[พระวรสารนักบุญมาระโก]]
* [[ผู้นิพนธ์พระวรสารสี่ท่าน]]
** [[มัทธิวผู้นิพนธ์พระวรสาร]]
** [[ลูกาผู้นิพนธ์พระวรสาร]]
** [[ยอห์นผู้นิพนธ์พระวรสาร]]
 
{{เรียงลำดับ|มาระโก}}
[[หมวดหมู่:ผู้นิพนธ์พระวรสารสี่ท่าน]]
[[หมวดหมู่:มรณสักขีในศาสนาคริสต์]]
[[หมวดหมู่:อัครบิดรแห่งอะเล็กซานเดรีย]]