ผลต่างระหว่างรุ่นของ "พระยาธรรมลังกา"

เนื้อหาที่ลบ เนื้อหาที่เพิ่ม
ไม่มีความย่อการแก้ไข
ไม่มีความย่อการแก้ไข
บรรทัด 20:
|}}
 
'''พระยาธรรมลังกา'''<ref>วงศ์สักก์ ณ เชียงใหม่, บรรณาธิการ, [http://opac.payap.ac.th/multi/ref/rft000002.pdf เจ้าหลวงเชียงใหม่], 2539, เชียงใหม่ : คณะทายาทสายสกุล ณ เชียงใหม่</ref> หรือ'''พระญาธัมมลังกา''' ([[พ.ศ. 2289]]- [[พ.ศ. 2365]])<ref>หนานอินแปง. '''พระราชชายา เจ้าดารารัศมี.''' กรุงเทพฯ : บางกอกบุ๊ค, 2546</ref> หรือ '''เจ้าหลวงพระยาเชียงใหม่ช้างเผือก''' เป็นพระยานครเชียงใหม่ องค์ที่ 2 ใน[[ราชวงศ์ทิพย์จักร]] และเป็นราชบุตรใน[[เจ้าฟ้าสิงหราชธานี เจ้าฟ้าหลวงชายแก้ว]] โดยพระองค์ได้ร่วมกับพระเชษฐา และพระอนุชาในการต่อสู้อริราชศัตรูจนได้รับสมัญญานามว่า '''"เจ้าเจ็ดตน"'''
 
== พระราชประวัติ ==
บรรทัด 27:
พระยาธรรมลังกา เป็นพระอนุชาของ[[พระเจ้ากาวิละ]] มีพระเชษฏา พระอนุชาและพระขนิษฐา รวม 10 พระองค์ (หญิง 3 ชาย 7) (เจ้าชายทั้ง 7 พระองค์ได้ทรงช่วยกันต่อสู้อริราชศัตรูขยายขอบขัณฑสีมาล้านนาออกไปอย่างเกรียงไกร เป็นเหตุให้มีพระสมัญญาว่า "เจ้าเจ็ดตน") มีพระนามตามลำดับ ดังนี้
 
* [[พระเจ้ากาวิละ]] พระเจ้าเจ้าผู้ครองนครเชียงใหม่ องค์ที่ 1 (นับเป็น "พระเจ้าผู้ครองนครลำปาง องค์ที่ 3" ใน "ราชวงศ์ทิพย์จักร")
* [[พระยาคำโสม]] พระเจ้าเจ้าผู้ครองนครลำปาง องค์ที่ 4
* พระยาธรรมลังกา พระยาเจ้าผู้ครองนครเชียงใหม่ องค์ที่ 2
* [[พระเจ้าดวงทิพย์]] พระเจ้าเจ้าผู้ครองนครลำปาง องค์ที่ 5
* [[เจ้าศรีอโนชา]] พระอัครชายาใน[[สมเด็จพระบวรราชเจ้ามหาสุรสิงหนาท]]
* เจ้าหญิงสรีวัณณา (ถึงแก่พิราลัยแต่เยาว์)
* เจ้า[[พระยาอุปราชหมูหล้า]] พระราชมหาอุปราชานราธิบดีศรีสุวรรณฝ่ายหน้าหอคำนครลำปาง
* [[พระยาคำฟั่น]] เจ้าผู้ครองนครเชียงใหม่ องค์ที่ 3 และ เจ้าผู้ครองนครลำพูน องค์ที่ 1
* เจ้าหญิงสรีบุญทัน (พิราลัยแต่เยาว์)
บรรทัด 43:
พระยาธรรมลังกา มีเจ้าราชโอรสและราชธิดา รวม 16 พระองค์ อยู่ใน[[ราชวงศ์ทิพย์จักร]] มีพระนามตามลำดับ ดังนี้
* '''เจ้าหญิงศรีปิมปา ณ เชียงใหม่'''
* '''[[พระเจ้ามโหตรประเทศ|พระเจ้ามโหตรประเทศ]]''' ผู้ครองนครเชียงใหม่ องค์ที่ 5]]''' - พระอัยกา (พระเจ้าตา) ใน[[เจ้าจอมมารดาทิพเกสร ในรัชกาลที่ 5]] และพระไปยกา (เจ้าตาทวด) ใน[[พระเจ้าบรมวงศ์เธอ พระองค์เจ้าดิลกนพรัฐ กรมหมื่นสรรควิสัยนรบดี]] พระราชโอรสใน[[พระบาทสมเด็จพระจุลจอมเกล้าเจ้าอยู่หัว]]
* '''[[เจ้าหลวงพระยารัตนอาณาเขต (น้อยคำแสน ณ เชียงใหม่)]],''' พระยารัตนอาณาเขต เจ้าเมืองเชียงราย'''
* '''[[เจ้าอุปราชน้อยหน่อคำ ณ เชียงใหม่]],''' เจ้าอุปราชนครเชียงใหม่''' - เจ้าปู่ใน "[[เจ้าไชยสงคราม (สมพมิตร ณ เชียงใหม่)]]" ซึ่ง "เจ้าไชยสงครามฯ" เป็นเจ้าปู่ใน [[ธวัชวงศ์ ณ เชียงใหม่]], อดีตรัฐมนตรีฯ" และเป็นเจ้าตาทวดใน พ.ต.ท. ดร. [[ทักษิณ ชินวัตร]], อดีตนายกรัฐมนตรี และนางสาวยิ่งลักษณ์ ชินวัตร นายกรัฐมนตรี
* '''เจ้าน้อยพรหมา ณ เชียงใหม่'''
* '''เจ้าหนานอินตา ณ เชียงใหม่'''
* '''เจ้าหญิงสุธรรมมา ณ เชียงใหม่'''
* '''เจ้าหญิงปทุมมา ณ เชียงใหม่'''
* '''เจ้าหญิงคำทิพย์ ณ เชียงใหม่''' - ชายา "เจ้าน้อยจักรคำ ณ เชียงใหม่" ราชโอรสใน "[[พระยาคำฟั่น]], เจ้าผู้ครองนครเชียงใหม่ องค์ที่ 3"
* '''เจ้าหญิงบัวคำ ณ เชียงใหม่''' - รับราชการฝ่ายในเป็นเจ้าจอมใน ร.3 (ไม่มีพระราชโอรส พระราชธิดา) <ref>พิเชษ ตันตินามชัย. '''"เจ้าหญิงเชียงใหม่"''' ศิลปวัฒนธรรม 26 : 2 ธันวาคม 2547.</ref>
* '''เจ้าหญิงองค์ทิพย์ ณ เชียงใหม่'''
* '''เจ้าหญิงกาบแก้ว ณ เชียงใหม่'''
* '''เจ้าหญิงบุญปั๋น ณ เชียงใหม่''' - เจ้ามารดาใน "เจ้าหลวงมหาวงศ์ ณ เชียงใหม่, พระยามหิทธิวงศา เจ้าเมืองฝาง"
* '''เจ้าหญิงเกี๋ยงคำ (ณ เชียงใหม่) ตุงคนาคร''' - ชายา "เจ้าราชภาติกวงษ์ น้อยดวงทิพย์ ตุงคนาคร, เจ้าราชภาติกวงษ์นครลำพูน" เจ้านายราชวงศ์มังราย จากเมืองเชียงตุง ซึ่งอพยพเข้ามาอยู่นครเชียงใหม่ตั้งแต่ปี 2348 ได้รับพระราชทานนามสกุลจาก ร. 6
* '''เจ้าหญิงจันทร์เป็ง ณ เชียงใหม่'''
* '''แม่เจ้าแก้วยวงคำ, เทวีใน เจ้าหลวง หนานสุยะ, พระยารัตนอาณาเขต เจ้าเมืองเชียงราย'''
 
== พระราชกรณียกิจ ==
ในปี [[พ.ศ. 2317]] เมื่อพระเจ้ากาวิละ ร่วมมือกับ[[พระยาวิเชียรปราการ (บุญมา)|พระยาจ่าบ้าน]] และ[[สมเด็จพระเจ้ากรุงธนบุรี]] ปลดปล่อยล้านนาจากอำนาจของพม่าได้สำเร็จ พระเจ้ากรุงธนบุรีได้สถาปนาพระยาจ่าบ้าน เป็น "[[พระยาวชิรปราการ]]" เจ้าเมืองเชียงใหม่ เจ้ากาวิละเป็นพระยานครลำปาง และแต่งตั้งเจ้าธรรมลังกาเป็นพระยาราชวงศ์เมืองนครลำปาง และได้เลื่อนอิสริยยศเป็น "พระยาอุปราชเมืองเชียงใหม่" ในปี [[พ.ศ. 2348]]
 
ต่อมาในปี [[พ.ศ. 2359]] พระเจ้ากาวิละถึงแก่พิราลัย พระยาอุปราช (ธรรมลังกา) จึงได้รับการสถาปนาขึ้นเป็น "พระยาเชียงใหม่"<ref>[https://th.wikisource.org/wiki/พงศาวดารลาวเฉียง_ของพระยาประชากิจกรจักร_(แช่ม_บุนนาค) พงศาวดารลาวเฉียง ของพระยาประชากิจกรจักร (แช่ม บุนนาค)]</ref> เมื่อวันขึ้น 12 ค่ำ เดือน 9 เหนือ (ตรงกับวันที่ [[27 พฤษภาคม]] [[พ.ศ. 2360]]) และอัญเชิญพระยาลำพูนคำฝั้น (พระอนุชา) มาเป็นพระยาอุปราช และให้พระยาอุปราชบุญมา เป็นพระเจ้าลำพูนไชยสืบแทน
 
ในช่วงรัชสมัยของพระองค์ มีพระราชกิจที่สำคัญ อาทิ
* พ.ศ. 2359 คราเสด็จไปเฝ้า[[พระบาทสมเด็จพระพุทธเลิศหล้านภาลัย]] เพื่อรับพระบรมราชโองการเป็นผู้ครองนครเชียงใหม่ ได้ถวายช้างเผือกแด่รัชกาลที่ 2 จึงในการนี้ได้รับโปรดเกล้าฯ สถาปนา เป็นสมัญญาว่า ''พระยาเชียงใหม่ช้างเผือก''
* พ.ศ. 2361 โปรดให้ซ่อมแซมเมืองเชียงใหม่ และขุดลอกคูเมือง
* โปรดให้สร้าง[[กำแพงเมืองเชียงใหม่]] โดยใช้อิฐ ในปี [[พ.ศ. 2363]] เริ่มต้นจากด้านแจ่งศรีภูมิ เวียนไปทางซ้าย