ผลต่างระหว่างรุ่นของ "เภา เพียรเลิศ บริภัณฑ์ยุทธกิจ"

เนื้อหาที่ลบ เนื้อหาที่เพิ่ม
Poompong1986 (คุย | ส่วนร่วม)
บรรทัด 57:
== ประวัติ ==
พลเอก เภา เพียรเลิศ บริภัณฑ์ยุทธกิจ<ref>http://archives.psd.ku.ac.th/kuout/p061.html ประวัติจากฐานข้อมูลบูรพาจารย์มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์</ref> เดิมชื่อเภา เพียรเลิศ เกิดเมื่อวันศุกร์ที่ [[10 พฤศจิกายน]] [[พ.ศ. 2436]] ที่บ้านหน้า[[วัดอมรินทราราม]] ในคลองบางกอกน้อย [[จังหวัดธนบุรี]]ในครั้งนั้น เป็นบุตรคนที่ 2 ของนายเพ็ชร์และนางส้มจีน เพียรเลิศ มีพี่น้องร่วมบิดามารดา 11 คน
จบการศึกษาชั้นประถมบริบูรณ์จากโรงเรียนวัดอมรินทราราม ชั้นมัธยมบริบูรณ์จาก[[โรงเรียนสวนกุหลาบ]] แล้วเข้าศึกษาต่อในโรงเรียนนายร้อยทหารบก เมื่อ [[พ.ศ. 2449]] และเมื่อ [[พ.ศ. 2452]] ได้เดินทางไปศึกษาต่อ ณ [[ประเทศเยอรมัน]] แต่เนื่องจากเกิด[[สงครามโลกครั้งที่ 1]] จึงต้องย้ายไปศึกษาและปฏิบัติงานในราชการ[[กองทัพบก]] ที่[[ประเทศสวิตเซอร์แลนด์]] และ[[ฝรั่งเศส]] ตามลำดับจนถึง โดยขณะนั้นมียศ[[พ.ศ. 2464ร้อยตรี]] จึงได้เดินทางกลับประเทศไทย(ร.ต.) รับราชการทหารจนได้รับพระราชทานบรรดาศักดิ์เป็นพระบริภัณฑ์ยุทธกิจเมื่อหนึ่งใน 19 นายทหารระดับสูงที่ทำหน้าที่ประสานงานระหว่าง[[พ.ศ. 2472กองทัพไทย]]กับ[[ฝ่ายสัมพันธมิตรในสงครามโลกครั้งที่หนึ่ง|ฝ่ายสัมพันธมิตร]] และดำรงตำแหน่งพลาธิการทหารบกเมื่อที่เรียกว่า "กองทูตศึกสัมพันธมิตร" ที่นำโดย พลตรี [[พ.ศ. 2477พระยาเทพหัสดิน|พระยาพิไชยชาญฤทธิ]] (ต่อมาคือ พลโท พระยาเทพหัสดิน <ref>{{อ้างหนังสือ
|ผู้แต่ง=นายหนหวย
|ชื่อหนังสือ=เจ้าฟ้าประชาธิปกราชันผู้นิราศ
|URL=
|จังหวัด=กรุงเทพฯ
|พิมพ์ที่=พิมพ์จำหน่ายด้วยตัวเอง
|ปี=2530
|ISBN=
|จำนวนหน้า=740
|หน้า = 20
}}
</ref>) จนถึง [[พ.ศ. 2464]] จึงได้เดินทางกลับประเทศไทย รับราชการทหารจนได้รับพระราชทานบรรดาศักดิ์เป็นพระบริภัณฑ์ยุทธกิจเมื่อ [[พ.ศ. 2472]] และดำรงตำแหน่งพลาธิการทหารบกเมื่อ [[พ.ศ. 2477]]
 
== เข้าสู่วงการเมือง ==