ผลต่างระหว่างรุ่นของ "แอนติเจน"

เนื้อหาที่ลบ เนื้อหาที่เพิ่ม
BotKung (คุย | ส่วนร่วม)
เก็บกวาดบทความด้วยบอต
MuanN (คุย | ส่วนร่วม)
ไม่มีความย่อการแก้ไข
บรรทัด 1:
[[ไฟล์:Antibody.svg|thumb|255px]]
ใน[[วิทยาภูมิคุ้มกัน]] '''แอนติเจน''' หรือ '''สารก่อภูมิต้านทาน''' คือสารใดๆ ที่กระตุ้นให้เกิดปฏิกิริยาตอบสนองทางภูมิคุ้มกันแบบปรับตัว (adaptive immune response) แอนติเจนมักเป็นสารที่แปลกปลอมหรือเป็นพิษต่อร่างกาย (เช่น ตัวเชื้อแบคทีเรีย) ซึ่งเมื่อเข้ามาในร่างกายแล้วจะถูกจับโดย[[แอนติบอดี]]ที่มีความจำเพาะ แอนติบอดีแต่ละชนิดถูกออกแบบมาเพื่อตอบสนองกับแอนติเจนชนิดหนึ่งๆ เนื่องจากมีความแตกต่างอย่างจำเพาะในส่วนจับคอมพลีเมนท์ (complementary determining region) ของแอนติบอดีนั้นๆ (มักเปรียบเทียบว่าเหมือนการจับคู่กันได้พอดีของลูกกุญแจกับแม่กุญแจ)ผู้เสนอให้ใช้คำว่าแอนติบอดีคือ Paul Ehrlich ซึ่งเสนอคำนี้ขึ้นพร้อมกับทฤษฎีสายโซ่ด้านข้าง (side-chain theory) ในช่วงปลายคริสต์ศตวรรษที่ 19 แต่เดิมคำนี้ย่อมาจาก '''ANTI'''body '''GEN'''erator
 
แอนติเจนอาจเป็นสารที่ถูกสร้างโดยร่างกายเองหรือรับมาจากภายนอกก็ได้ โดยปกติแล้วระบบภูมิคุ้มกันจะไม่มีปฏิกิริยาต่อแอนติเจนของร่างกายเอง และควรจะต้องสามารถระบุและทำลาย "ผู้รุกราน" ที่ไม่ใช่ตัวร่างกายเองได้ รวมไปถึงสารที่เกิดมีขึ้นในร่างกายในภาวะที่ไม่ปกติ
{{ระบบภูมิคุ้มกันชนิดลิมโฟไซต์}}
[[หมวดหมู่:ระบบภูมิคุ้มกัน]]