ผลต่างระหว่างรุ่นของ "ขดลวดแม่เหล็กไฟฟ้า"

เนื้อหาที่ลบ เนื้อหาที่เพิ่ม
Octahedron80 (คุย | ส่วนร่วม)
ไม่มีความย่อการแก้ไข
Roonie.02 (คุย | ส่วนร่วม)
ไม่มีความย่อการแก้ไข
บรรทัด 1:
[[File:Magnetic field of wire loop.svg|thumb|เส้นสนามแม่เหล็ก(สีแดง)ของขดลวดที่มีกระแส(I)ไหลผ่านจะพาดผ่านศูนย์กลางของขดลวดและหนาแน่นสะสมบริเวณนั้น]]
[[ไฟล์:Transformers.png|thumb|Diagram of typical transformer configurations]]
'''ขดลวดแม่เหล็กไฟฟ้า''' หรือ ({{lang-en|electromagnetic coil}}) เป็นตัวนำไฟฟ้าอย่างหนึ่งเช่น ลวดในรูปของขดลวด({{lang-en|coil}}), รูปเกลียวก้นหอยหรือเกลียวสปริง<ref name="Stauffer">{{cite book
'''ขดลวดแม่เหล็กไฟฟ้า''' ({{lang-en|Electromagnetic coil}}) หรือเพียงแค่ "ขดลวด หรือ คอยล์" เกิดขึ้นเมื่อตัวนำ (ลวดทองแดงเต็มเส้นหุ้มฉนวน) พันรอบแกนหรือขึ้นรูปเป็นวง เพื่อการเหนี่ยวนำหรือสร้างสนามแม่เหล็กไฟฟ้า เมื่อกระแสไฟฟ้าผ่านขดลวดจะสร้างสนามแม่เหล็ก วงรอบหนึ่งวงของลวดทองแดงจะเรียกว่าหนึ่งรอบ คอยล์จะประกอบด้วยขดลวดหนึ่งรอบหรือมากกว่า ใช้ในวงจรอิเล็กทรอนิกส์, ขั้วต่อเรียกว่าแท็ป ขดลวดมักจะถูกเคลือบด้วยน้ำมันวานิชหรือเทปฉนวนเพื่อป้องกันกระแสไฟฟ้ารั่วอีกชั้นหนึ่งและผูกมัดไว้กับที่
| last = Stauffer
| first = H. Brooke
| title = NFPA's Pocket Dictionary of Electrical Terms
| publisher = Jones and Bartlett Learning
| year = 2005
| location =
| page = 36
| url = http://books.google.com/books?id=9sW_knz5P0wC&pg=PA36#v=onepage&q&f=false
| doi =
| id =
| isbn = 0877655995}}</ref><ref name="Laplante">{{cite book
| last = Laplante
| first = Phillip A.
| title = Comprehensive Dictionary of Electrical Engineering
| publisher = Springer
| year = 1999
| location =
| pages = 114–115
| url = http://books.google.com/books?id=soSsLATmZnkC&pg=PA114&dq=coil
| doi =
| id =
| isbn = 3540648356}}</ref> ขดลวดแม่เหล็กไฟฟ้าถูกใช้ในวิศวกรรมไฟฟ้า, ในการใช้งานที่กระแสไฟฟ้าจะมีปฏิสัมพันธ์กับสนามแม่เหล็ก, ในอุปกรณ์เช่นตัวเหนี่ยวนำ, แม่เหล็กไฟฟ้า, หม้อแปลง, และขดลวดเซ็นเซอร์ เป็นได้ทั้งกระแสไฟฟ้าจะถูกส่งผ่านลวดของคอยล์เพื่อสร้างสนามแม่เหล็ก หรือตรงกันข้าม สนามแม่เหล็กภายนอกที่แปรตามเวลาพาดผ่านด้านในของขดลวดสร้าง EMF(แรงดัน)ในตัวนำ
 
กระแสไหลในตัวนำใดๆจะสร้างสนามแม่เหล็กวงกลมรอบตัวนำตามกฎของแอมแปร์<ref name="Arun">{{cite book
| last = Arun
| first = P.
| title = Electronics
| publisher = Alpha Sciences International Ltd.
| year = 2006
| location =
| pages = 73–77
| url = http://books.google.com/books?id=HsavX0cnxTcC&pg=PA73
| doi =
| id =
| isbn = 1842652176}}</ref> ประโยชน์ของการใช้รูปทรงแบบขดม้วนก็คือมันจะเพิ่ม ความแรงของสนามแม่เหล็กที่เกิดจากกระแส สนามแม่เหล็กที่เกิดจากแต่ละรอบที่แยกจากกันของลวดตัวนำทั้งหมดผ่านศูนย์กลางของขดลวดและซ้อนกัน({{lang-en|superpose}}) เพื่อสร้างสนามที่แข็งแกร่งที่นั่น จำนวนรอบของขดลวดยิ่งมาก สนามที่ถูกสร้างขึ้นก็ยิ่งแรง ในทางกลับกัน การเปลี่ยนแปลงของฟลักซ์แม่เหล็กภายนอกทำให้เกิดแรงดันไฟฟ้าในตัวนำตามกฎการเหนี่ยวนำของฟาราเดย์<ref name="Arun" /><ref>[http://books.google.com/books?id=lROa-MpIrucC&pg=PA129&dq=Faradays+law Newnes 2002, p. 129]</ref> แรงดันไฟฟ้า ที่ถูกเหนี่ยวนำสามารถทำให้เพิ่มขึ้นได้โดยพันลวดให้เป็นขดเพราะเส้นสนามจะตัดเส้นลวดหลายครั้ง<ref name="Arun" />
[[File:Right-hand grip rule.svg|thumb|ทิศทางของสนามแม่เหล็กที่เกิดจากกระแสไหลในขดลวดจะถูกกำหนดโดยกฎมือด้านขวา ถ้านิ้วมือของมือข้างขวาถูกกำรอบแกนแม่เหล็กของขดลวดในทิศทางของการไหลของกระแสในเส้นลวด, นิ้วหัวแม่มือจะชี้ไปในทิศทางที่เส้นสนามแม่เหล็กพาดผ่านขดลวด]]
 
มีขดลวดหลายประเภทที่ใช้ในอุปกรณ์ไฟฟ้าและอิเล็กทรอนิกส์
 
==ลวดและแทป==
 
[[File:Transformers.png|thumb|แผนภาพแสดงรูปแบบทั่วไปของคอยล์ของหม้อแปลง]]
 
ลวดหรือตัวนำที่สร้างเป็นคอยล์ถูกเรียกว่า''ขดลวด''<ref>[http://books.google.com/books?id=9sW_knz5P0wC&pg=PA273 Stauffer 2005, p. 273]</ref> หลุมตรงกลางของขดลวดเรียกว่าพื้นที่แกน({{lang-en|core}})หรือแกนหมุน({{lang-en|axis}})แม่เหล็ก<ref name="Amos">{{cite book
| last = Amos
| first = S W
| coauthors = Roger Amos
| title = Newnes Dictionary of Electronics
| publisher = Newnes
| year = 2002
| location =
| page = 191
| url = http://books.google.com/books?id=lROa-MpIrucC&pg=PA191&dq=magnetic+core
| doi =
| id =
| isbn = 0080524052}}</ref> แต่ละวงลูปที่พันเรียกว่า''รอบ''<ref name="Laplante" /> ในขดลวดที่ลวดสัมผัสกัน ลวดต้องถูกทำให้เป็นฉนวนโดยการเคลือบด้วยสารที่ไม่นำไฟฟ้า เช่น พลาสติกหรือสีเคลือบผิวหน้า เพื่อป้องกันกระแสไหลข้ามระหว่างรอบของลวด ขดลวดมักจะถูกห่อรอบ"คอยล์ฟอร์ม"ที่ทำจากพลาสติกหรือวัสดุอื่นเพื่อยึดให้อยู่กับที่<ref name="Laplante" /> ปลายของลวดจะถูกนำออกมาและติดอยู่กับวงจรภายนอก ขดลวดอาจมีการเชื่อมต่อไฟฟ้าเพิ่มเติมตามความยาวของมัน จุดแยกเหล่านี้จะเรียกว่า "แทป"<ref>[http://books.google.com/books?id=soSsLATmZnkC&pg=PA633&dq=tap Laplante 1999, p. 633]</ref> ขดลวดที่มีแทปเพียงจุดเดียวตรงกลางของความยาวของมันเรียกว่า center-tap<ref>[http://books.google.com/books?id=9sW_knz5P0wC&pg=PA29 Stauffer 2005, p. 29]</ref> คอยล์สามารถมีมากกว่าหนึ่งขดลวด, เป็นฉนวนแยกจากกัน ถ้ามีสองขดหรือมากกว่ารอบแกนหมุนแม่เหล็กทั่วไป ลวดจะกล่าวว่าเป็น"คู่เหนี่ยวนำ"หรือ"คู่แม่เหล็ก"<ref>[http://books.google.com/books?id=lROa-MpIrucC&pg=PA167&dq=inductive+coupling Newnes 2002, p. 167]</ref> กระแสที่แปรตามเวลาที่ไหลในขดลวดจะสร้างสนามแม่เหล็กที่แปรตามเวลาที่พาดผ่านขดลวดอื่น ซึ่ง จะทำให้เกิดแรงดันไฟฟ้าที่แปรตามเวลาในขอลวดอื่นนั้น คอยล์นี้เรียกว่า "หม้อแปลง"<ref>[http://books.google.com/books?id=lROa-MpIrucC&pg=PA326&dq=transformer Newnes 2002, p. 326]</ref>
 
ขดลวดแม่เหล็กไฟฟ้าใช้ใน[[หม้อแปลงไฟฟ้า]], [[มอเตอร์]], ขดลวดเหนี่ยวนำ, ลำโพงและงานอื่น ๆ อีกมากมาย
 
==หลักการทั่วไป==