ผลต่างระหว่างรุ่นของ "พระที่นั่งสุทธาสวรรย์"

เนื้อหาที่ลบ เนื้อหาที่เพิ่ม
Chanon jirawat (คุย | ส่วนร่วม)
BotKung (คุย | ส่วนร่วม)
เก็บกวาดบทความด้วยบอต
บรรทัด 1:
[[Fileไฟล์:พระราชฐานชั้นใน_2014-02-20_15-17.jpg|thumbnail|พระราชฐานชั้นใน]]
 
==ประวัติ==
ั  พระที่นั่งสุทธาสวรรค์" เป็นที่ประทับส่วนพระองค์ของ[[สมเด็จพระนารายณ์มหาราช]]ตั้งอยู่ในเขตพระราชฐานชั้นใน บันทึกของชาวฝรั่งเศสกล่าวไว้ว่า พระที่นั่งองค์นี้ตั้งอยู่ในพระราชอุทยานที่ร่มรื่น ทรงปลูกพรรณไม้ต่าง ๆ ด้วยพระองค์เอง หลังคาพระที่นั่งมุงด้วย กระเบื้องเคลือบสีเหลือง ที่มุมทั้งสี่มีสระน้ำขนาดใหญ่สี่สระ เป็ฯที่สรงสนานของพระเจ้าแผ่นดิน[[สมเด็จพระนารายณ์มหาราช]]เสด็จสวรรคต ณ พระที่นั่งองค์นี้เมื่อวันที่ [[11 กรกฏาคมกรกฎาคม ]] [[พ.ศ. 2231]]
 
==สถาปัตยกรรม==
บรรทัด 72:
ปีกอาคาร (พระปรัศว์)
ปีกอาคารซึ่งถูกชักออกไปทางด้านเหนือและด้านใต้ของมุมทิศตะวันออกเฉียงเหนือและตะวันตกเฉียงใต้อของฐานพระที่นั่งสุทธาวรรย์มีลักษณะเป็นอาคารสี่เหลี่ยมผืนผ้า ด้านแปยาว 9 เมตรด้านสกัดกว้าง 7 เมตร ผนังของแต่ละด้านกว้างประมาณ 1 เมตร ภายหลังการขุดแต่งปรากฏอหลักฐานของถึงน้ำกรุหินอ่อนอยู่ภายใน ทั้งปีกด้านทิศเหนือและปีกด้านทิศใต้
สำหรับปีกด้านเหนือนั้น โครงสร้างผนังและเครื่องบนถูกรื้อทำลายลงไปจนหมดสิ้นเหลือเพียงร่องรอยของโคนเสาก่ออิฐถือปูน ฐานเสาบัวคว่ำและผนังเตี้ยๆแต่กระนั้นก็ยังพอจะเห็นร่องรอยขององค์ประกอบและรูปแบบทางสถาปัตยกรรมจากการวิเคราะห์และเปรียบเที่ยบกับปีกอาคารทางด้านใต้ของฐานพระที่นั่งสุทธาวรรย์ กล่าวคือ ปีกอาคารด้านเหนือจะมีช่องหน้าต่างรูปวงโค้งยอดแหลมแบบซาราเซนนิค จำนวน 3 ช่อง เหตุที่เชื่อว่าด้านเหนือมีแต่ช่องหน้าต่างก็เนื่องจากไม่มีร่องรอยของบันไดยื่นจากตัวอาคารมารับช่องประตูทางด้านนี้แต่อย่างใด ส่วนทางด้านใต้ปีของอาคารทศเหนือนั้นปรากฎปรากฏหลักฐานของช่องประตูจำนวน 2ช่อง ขนาบข่องหน้าต่างตรงกลางจำนวน 1 ช่อง ช่องประตูและช่องหน้าต่างทั้งหมดจะมีรูปแบบเป็นช่องโค้ง เช่นเดียวกับช่องประตูและช่องหน้าต่างทางทิศเหนือของปีกอาคารด้านใต้ของพระที่นั่งสุทธาวรรย์ ด้านสกัดของปีกอาคารทางเหนือนั้นปรากฏร่องรอยของช่องประตู ทั้งด้านตะวันออกและด้านตะวันตก โดยเฉพาะประตูด้านตะวันออกนั้นจะมีร่องรอยของฐานบันไดปรากฏให้เห็นด้วยและช่องประตูทั้งสองด้านก็น่าจะมีรูปเป็นช่องโค้งยอดแหยมเช่นเดียวกับประตูด้านตะวันออกและตะวันตกของปีกอาคารด้านใต้ ทางมุมทิศตะวันตกเฉียงเหนือของปีกอาคารส่วนนี้ปรากฏบันไดยื่นออกไป มีแผ่นหินแอนดีไซต์รูปสี่เหลี่ยมผืนผ้าขนาด 1.00 X 50 เซนติเมตรรองรับ
ปีกอาคารด้านใต้นั้นมีโครงสร้างและรูปแบบทางสถาปัตยกรรมก่อนข้างสมบูรณ์ ง่ายต่อการอธิบายทำความเข้าใจและสามารถนำมาใช้เป็นหลักในการวิเคราะห์เปรียบเทียบกับองค์ประกอบส่วนอื่นๆของอาคารได้เป็นอย่างดี ผนังด้านเหนือยังปรากฏช่องประตูรูปโค้งมุมแหลมจำนวน 2 ช่อง สูงประมาณ 3 เมตร ขนาบช่องหน้าต่างรูปแบบเดียวกันไว้ตรงกลาง ความสูงประมาณ 2.5 เมตร ช่องประตูและช่องหน้าต่างมีความกว้างประมาณ 1.80 เมตรเท่ากัน ผนังด้านใต้ของปีกอาคารถูกรื้อทำลายไปจนหมดสิ้น ขณะที่ผนังด้านตะวันตกยังอยู่ครบ ส่วนผนังด้านตะวันออกนั้นยังคงเหลือเฉพาะซีกประตูด้านเหนือเท่านั้น ด้านตะวันออกของปีกอาคารส่วนนี้มีบันไดกว้างประมาณ 2 เมตร ยื่นออกไป ส่วนทางมุมทิศตะวันออกเฉียงใต้ก็มีบันไดยื่นออกไปเช่นกัน
ฐานน้ำพุหรือฐานอ่างน้ำสรงสนาน ฐานน้ำพุหรือฐานอ่างน้ำสรงสนานเป็นรากฐานขององค์ประกอบทางสถาปัตยกรรมขนาด 7X3 เมตร ซึ่งถูกก่อยื่นเป็นมุขออกไปทางเหนือและใต้ ที่บริเวณจุดกึ่งกลางของรากฐานเดิม (ก่อนจะถูกกำแพงเขื่อนเพชรก่อคล่อมตัดบางส่วนของระเบียงด้านตะวันตกของพระที่นั่งสุทธาสวรรย์ออกไปเล็กน้อย) ของพระที่นั่งสุทธาสวรรย์ สภาพก่อนการขุดแต่งมีต้นหญ้า มูลดินและกากปูนปกคลุมประมาณ 10 เซนติเมตร ฐานน้ำพุหรืออ่างน้ำสรงสนานทางทิศเหนือของเชิงพระที่นั่งสุทธาสวรรย์จะมีเขามอหรอภูเขาจำลองก่ออิฐถือปูนหนา มีแผนผังคล้ายรูปครึ่งวงกลมจำนวน 6 รูป เรียงล้อมกันเป็นวงคล้ายกลีบดอกจันทร์ ลดชั้นจากฐานขึ้นไปสู่ยอด นับได้ 3 ชั้น (2ยอด) 7 ชั้น (2 ยอด)9ชั้น (1 ยอด) และ 11 ชั้น (1 ยอด) รวม 6 ยอด ฐานแต่ละด้านของยอดเขามอจะคว้านร่องทรงกระบอก ซึ่งสันนิษฐานว่าอาจใช้สำหรับประดับพรรณไม้เป็นระยะๆ ฐานของเขามอทำเป็นช่องโค้งมุมแหลมเจาะทะลุจากเหนือไปใต้กว้างประมาณ 1 เมตร มีดินทับถมอยู่จนเกือบเต็มช่องโค้ง ดินดังกล่าวเป็นดินใหม่ ซึ่งถูกนำมาตกแต่งเขามอเนื่องในงานฉลองแผ่นดินสมเด็จ พระนารายณ์ของแต่ละปีที่ผ่านมา