ผลต่างระหว่างรุ่นของ "เปรียญธรรม 3 ประโยค"

เนื้อหาที่ลบ เนื้อหาที่เพิ่ม
Octahedron80 (คุย | ส่วนร่วม)
ใช้เลขอารบิกเฉพาะที่ ลบสระซ้อน
Octahedron80 (คุย | ส่วนร่วม)
เก็บกวาดทันใจด้วยสคริปต์จัดให้
บรรทัด 20:
'''วิชาแปลมคธเป็นไทย''' คือ วิชาแปล[[ภาษาบาลี]]เป็น[[ภาษาไทย]] โดยในชั้นนี้กำหนดเป็น '''แปลโดยพยัญชนะและอรรถ''' ให้ฝึกการแปลภาษาบาลีจากหนังสือ '''อรรถกถาธรรมบท''' (ธมฺมปทฏฐกถา)
 
==== การศึกษาวิชาแปลมคธเป็นไทย ====
[[ภาพ:ธมฺมปทฏฐกถา สตฺตโม ภาโค.jpg|thumb|ปกหนังสืออันเป็นที่คุ้นตาของนักเรียนบาลี "ธมฺมปทฏฐกถา สตฺตโม ภาโค" ''' หนึ่งในหลักสูตรวิชาแปลมคธเป็นไทยในชั้นประโยค ป.ธ. ๓''' และ วิชาแต่งไทยเป็นมคธในชั้น เปรียญธรรม ๖ ประโยค]]
 
ใช้หนังสืออรรถกถาธรรมบท 4 เล่ม คือ
<ref>[http://www.learntripitaka.com/Theology2.html หนังสือหมวดเปรียญธรรม ประโยค ๑ ถึง ๙ ]</ref>
* ธมฺมปทฏฺฐกถา (ปญฺจโม ภาโค - ภาคห้า)
* ธมฺมปทฏฺฐกถา (ฉฏฺโฐ ภาโค - ภาคหก)
* ธมฺมปทฏฺฐกถา (สตฺตโม ภาโค - ภาคเจ็ด)
* ธมฺมปทฏฺฐกถา (อฏฺฐโม ภาโค - ภาคแปด)
 
==== การสอบไล่วิชาแปลมคธเป็นไทย ====
 
แบ่งข้อสอบในวิชานี้ออกเป็น 2 ชั้นคือ
 
* '''แปลโดย[[ความหมายโดยพยัญชนะ|พยัญชนะ]]'''
 
* '''แปลโดยอรรถะ'''
 
การตรวจข้อสอบ กำหนดจากเกณฑ์การทำข้อสอบผิด หากผิดมากกว่า 18 คะแนนขึ้นไป ถือว่าตกในวิชานี้
 
* '''ผิดศัพท์''' แปลผิดคำศัพท์ ปรับผิด 2 คะแนน
* '''ผิดสัมพันธ์''' ปรับผิด 3 คะแนน
* '''ผิดประโยค''' แปลเรียงรูปประโยคผิด ประธานและกรรมไม่สอดคล้องกัน ปรับผิด 6 คะแนน (หากผิด 2 ประโยค ถือว่าตก)<ref>[http://www.watpaknam.org/pali_download/panha_p2-5y50.pdf ตัวอย่างปัญหา-เฉลยบาลีสนามหลวง ประโยค ๑-๒ - ป.ธ.๕ ปี ๒๕๕๐]</ref>
 
=== วิชาสัมพันธ์ไทย ===
บรรทัด 48:
{{โครง-ส่วน}}
 
==== การศึกษาวิชาสัมพันธ์ไทย ====
 
ใช้หนังสือธัมมปทัฏฐกถา 4 เล่ม เหมือนวิชาแปลมคธเป็นไทย
 
==== การสอบไล่วิชาสัมพันธ์ไทย ====
 
วิชาสัมพันธ์ไทยมีข้อสอบข้อเดียว ให้ผู้สอบเชื่อมโยงความสัมพันธ์ของแต่ละศัพท์ในประโยค
บรรทัด 81:
 
 
== ดูเพิ่ม ==
* [[การสอบสนามหลวง]]
* [[สำนักงานแม่กองบาลีสนามหลวง]]