ผลต่างระหว่างรุ่นของ "พระอวโลกิเตศวรโพธิสัตว์"

เนื้อหาที่ลบ เนื้อหาที่เพิ่ม
ไม่มีความย่อการแก้ไข
บรรทัด 44:
== ประติมานวิทยา ==
[[ไฟล์:Avalokiteçvara, Malayu Srivijaya style.jpg|thumb|200px|พระโพธิสัตว์อวโลกิเตศวร [[ศิลปะศรีวิชัย]]]]
 
[[ไฟล์:A thangka (religious painting), School of Traditional Arts, Thimphu.jpg|thumb|200px|พระโพธิสัตว์อวโลกิเตศวร พุทธศิลป์ธิเบต]]
ภาพเขียนหรือรูปเคารพของพระอวโลกิเตศวรเริ่มแรกนิยมสร้างเป็นรูปบุรุษหนุ่ม ทรงเครื่องอลังการวิภูษิตาภรณ์อย่างเจ้าชาย[[อินเดีย]]โบราณ และมีอยู่หลายปางด้วยกัน แต่สิ่งสำคัญคือศิราภรณ์บนพระเศียรพระอวโลกิเตศวรจะต้องมีรูปของ[[พระอมิตาภะ]]ในปางสมาธิ หากเป็นปางที่มีหลายเศียร เศียรบนสุดจะเป็นเศียรพระอมิตาภะ นับเป็นข้อสังเกตในด้านปฏิมากรรมของพระโพธิสัตว์พระองค์นี้ ส่วนดอกบัวอันเป็นสัญญลักษณ์ของพระอวโลกิเตศวร คือ '''บัวสีชมพู ''' ขณะที่สีขาวคือบัวของพระมัญชุศรีโพธิสัตว์เท่านั้น และด้วยดอกบัวสีชมพูในตระกูลปัทมะนี้เอง ทำให้พระองค์ได้รับการขนานพระนามว่า'''ปัทมปาณีโพธิสัตว์'''
 
บรรทัด 52:
 
== สัทธรรมปุณฑรีกสูตร ==
[[ไฟล์:Cundi Ming Dynasty Gold.png|thumb|250px|พระจุณฑิอวโลกิเตศวรศิลปะจีนในยุค[[ราชวงศ์หมิง]](จีน:主洛基破坏了国家冰上公主 พินอิน:Zhǔ luò jī pòhuàile guójiā bīng shàng gōngzhǔ.)]]
[[สัทธรรมปุณฑรีกสูตร]]เป็นที่นับถือโดยทั่วไปทั้งในทิเบต จีน และญี่ปุ่น โดยเฉพาะนิกาย[[เทียนไถ]]ทั้งในจีนและญี่ปุ่น รวมถึง[[นิกายนิชิเรน]]ในญี่ปุ่นอีกด้วย ในญี่ปุ่นเจ้าชาย[[โชโตกุ]]ได้ทรงแต่งอรรถกถาอธิบายความพระสูตรนี้ แม้ว่าเนื้อหาหลักของคัมภีร์นี้จะเป็นการอรรถาธิบายถึงหลักการของมหายานคือสัจจะเอกยาน และสอนมีศรัทธาในพระสัทธรรมอันเป็นหนึ่งเดียว แต่ในตอนหนึ่งได้มีการกล่าวสรรเสริญอานุภาพแห่งพระอวโลกิเตศวรโพธิสัตว์ไว้ในบทหนึ่งชื่อว่า '''“สมันตมุขปริวรรต”''' ว่าด้วยการสำแดงร่างเพื่อโปรดสัตว์ของพระอวโลกิเตศวร เนื้อความในบทนี้เริ่มต้นด้วยการสนทนาระหว่างพระอักษยมติกับพระศากยมุนีพุทธเจ้า ว่าด้วยเรื่องราวในอดีตกาลของพระโพธิสัตว์อวโลกิเตศวร
 
== พระสหัสภุชสหัสเนตรอวโลกิเตศวร ==
[[ไฟล์:Avalokitesvara.jpg|thumb|300px|พระโพธิสัตว์อวโลกิเตศวรพันหัสตหัตถ์ ศิลปะจีน]]
 
[[ไฟล์:1000armedChenrezig SamyeLing.jpg|thumb|250px|พระโพธิสัตว์อวโลกิเตศวรพันหัสตหัตถ์ ศิลปะธิเบต]]
รูปเคารพของพระอวโลกิเตศวรมีอยู่หลายปาง ทั้งภาคบุรุษ ภาคสตรี ไปจนถึงปางอันแสดงลักษณาการที่ดุร้าย ซึ่งเป็นสัญลักษณ์ของการปราบมารคือสรรพ[[กิเลส]] แต่ปางที่สำคัญปางหนึ่งคือปางที่ทรงสำแดงพระวรกายเป็นพันหัสถ์พันเนตร ซึ่งมีเรื่องราวปรากฏในพระสูตรสันสกฤตคือ สหัสภุชสหัสเนตรอวโลกิเตศวรโพธิสัตวไวปุลยสัมปุรณอกิญจนมหากรุณาจิตรธารณีสูตรมหากรุณามนตร์ หรือเรียกสั้น ๆ ว่า [[มหากรุณาธารณีสูตร]] (大悲咒) นำเข้าไปแปลในจีนโดย'''พระภควธรรม'''ชาวอินเดีย ในสมัยราชวงศ์ถัง ได้กล่าวถึงบทสวดธารณีแห่งพระโพธิสัตว์พระองค์นี้ คือ “มหากรุณาหฤทัยธารณี” เนื้อหากล่าวถึงเมื่อครั้งที่พระศากยมุนีสัมมาสัมพุทธเจ้าประทับอยู่ ณ โปตาลกะบรรพต ในกาลนั้นพระอวโลกิเตศวรโพธิสัตว์ได้ขอพุทธานุญาตแสดงธารณีมนตร์อันศักดิ์สิทธิ์ไว้เพื่อเป็นที่พึ่งแก่สรรพสัตว์ ซึ่งธารณีนี้ย้อนไปในครั้งกาลสมัยของพระพุทธเจ้านามว่า'''พระสหัสประภาศานติสถิตยตถาคต''' พระพุทธเจ้าพระองค์นั้นได้ตรัสธารณีนี้แก่พระอวโลกิเตศวร และตรัสว่า “สาธุ บุรุษ เมื่อเธอได้หฤทัยธารณีนี้ จงสร้างประโยชน์สุขสำราญแก่สัตว์ทั้งหลายในกษายกัลป์แห่งอนาคตกาลโดยทั่วถึง”
 
เส้น 63 ⟶ 62:
 
จากเรื่องราวในพระสูตรนี้ทำให้เกิดการสร้างรูปพระโพธิสัตว์พันหัสถ์พันเนตร อันแสดงถึงการทอดทัศนาเล็งเห็นทั่วโลกธาตุและพันหัสต์แสดงถึงอำนาจในการช่วยเหลือสรรพสัตว์ให้พ้นทุกข์ บทสวดในพระสูตรนี้เป็นภาษาสันสกฤตผสมภาษาท้องถิ่นโบราณในอินเดีย ที่หลงเหลือมาในปัจจุบันมีหลายฉบับที่ไม่ตรงกัน ทั้งในฉบับทิเบต ฉบับจีนซึ่งมีทั้งของพระภควธรรม พระอโมฆวัชระ ฯลฯ ต่อมาได้มีการค้นคว้าและปรับปรุงให้ถูกต้องตามหลักไวยากรณ์โดย Dr.Lokesh Chandra และตีพิมพ์เผยแพร่เมื่อ ค.ศ. 1988 เป็นบทสวดสำคัญประจำองค์พระอวโลกิเตศวรโพธิสัตว์ที่พุทธศาสนิกชนมหายานสวดกันอยู่โดยทั่วไป
 
== ระเบียงภาพ ==
<gallery>
Privy Seal of King Rama VIII (Ananda Mahidol).svg|พระราชลัญจกรประจำพระองค์พระบาทสมเด็จพระเจ้าอยู่หัวอานันทมหิดล เป็นรูปพระอวโลกิเตศวรโพธิสัตว์ ซึ่งดัดแปลงมาจากภาพตราพระราชลัญจกรพระโพธิสัตว์สวนดุสิต (ต้นแบบคือประติมากรรมสำริดของพระอวโลกิเตศวรโพธิสัตว์ซึ่งได้มีการค้นพบอยู่ที่เมืองไชยา)
[[ไฟล์:A thangka (religious painting), School of Traditional Arts, Thimphu.jpg|thumb|200px|พระโพธิสัตว์อวโลกิเตศวร พุทธศิลป์ธิเบต]]
[[ไฟล์:1000armedChenrezig SamyeLing.jpg|thumb|250px|พระโพธิสัตว์อวโลกิเตศวรพันหัสตหัตถ์ ศิลปะธิเบต]]
Khasarpana_Lokesvara.jpg|พระอวโลกิเตศวรโพธิสัตว์ปัทมปาณี<br />[[นาลันทา]], [[รัฐพิหาร]], [[อินเดีย]], พุทธศตวรรษที่ 14-15 (คริสต์ศตวรรษที่ 9)
Avalokitesvara Gandhara Musée Guimet 2418 1.jpg|พระอวโลกิเตศวรโพธิสัตว์ ปางประทานอภัย (อภยมุทรา) ศิลปะคันธารราฐ ราวพุทธศตวรรษที่ 8-9 (คริสต์ศตวรรษที่ 3)
Bodhi Ajanta.jpg|Indian cave wall painting of Avalokiteśvara. [[Ajanta Caves|Ajaṇṭā Caves]], 6th century CE.
Muzium Negara KL66.JPG|[[Malaysia]]n statue of Avalokiteśvara. [[Bidor]], 8th-9th century CE.
Kuan-yan bodhisattva, Northern Sung dynasty, China, c. 1025, wood, Honolulu Academy of Arts.jpg|[[Peoples Republic of China|Chinese]] statue of Avalokiteśvara looking out over the sea, c. 1025 CE.
Guanyin acolytes.jpg|[[Republic of China|Chinese]] hanging scroll depicting [[Sudhana|Shancai]], Avalokiteśvara and [[Longnü]], [[Yuan Dynasty]].
Goryeo-Avalokiteshvara-1310-kagami Jinjya Temple.jpg|Korean painting of Avalokiteśvara. Kagami Jinjya, Japan, 1310 CE.
White avalokiteshvara.jpg|[[Nepal]]ese statue of Avalokiteśvara with six arms. 14th century CE.
Kano White-robed Kannon, Bodhisattva of Compassion.jpg|Japanese painting of meditating. 16th century CE.
La statue de Quan Am dans la pagode But Thap 2.jpg|Avalokiteśvara, crimson and gilded wood. Restored in 1656 CE. [[Bút Tháp Temple]], [[Bắc Ninh Province]], [[Vietnam]]
8O3temple-icon1.jpg|[[Tibet]]an statue of Avalokiteśvara with eleven faces.
Kek_Lok_Si_Goddess_of_Mercy.jpg|[[Malaysia]] [[Kek Lok Si]] Temple in Air Itam, [[Penang]]. The world tallest octagonal pavilion to shelter the Goddess of Mercy statue.
[[ไฟล์:Cundi Ming Dynasty Gold.png|thumb|250px|พระจุณฑิอวโลกิเตศวรศิลปะจีนในยุค[[ราชวงศ์หมิง]] (จีน:主洛基破坏了国家冰上公主 พินอิน:Zhǔ luò jī pòhuàile guójiā bīng shàng gōngzhǔ.)]] ศิลปะจีนในยุค[[ราชวงศ์หมิง]]
Lingyin temple 18 armed cundi.jpeg|Esoteric [[Cundi (Buddhism)|Cundī]] form of Avalokiteśvara with eighteen arms.
Thousand-Armed Avalokitesvara.jpg|Thousand-armed Avalokiteśvara bronze statue from Tibet, circa 1750. [[Birmingham Museum of Art]]
Avalokitesvara Plaosan.jpg|Avalokiteśvara holding a lotus flower. 8th-9th century, [[Candi Plaosan]] temple, [[Java]], [[Indonesia]].
File:Cambodian - Eight-armed Avalokiteshvara - Walters 542726.jpg|Eight-armed Avalokiteshvara, ca. 12th-13th century (Bàyon). [[The Walters Art Museum]].
Avalokiteshvara_head_Aceh_Srivijaya_1.JPG|The stone head of Avalokiteshvara Boddhisattva, discovered in [[Aceh]]. Srivijayan art, estimated 9th century CE.
</gallery>
 
== อ้างอิง ==