ผลต่างระหว่างรุ่นของ "การเน่าเปื่อย"

เนื้อหาที่ลบ เนื้อหาที่เพิ่ม
พุทธามาตย์ ย้ายหน้า การเน่าสลายตัว ไปยัง การเน่าเปื่อย: ศัพท์บัญญัติ
ไม่มีความย่อการแก้ไข
บรรทัด 1:
{{นิติเวชศาสตร์}}
'''การเน่าสลายตัวเปื่อย''' ({{lang-en|Decomposition}}) เป็น[[การเปลี่ยนแปลงหลังการตาย]]ตามธรรมชาติอย่างหนึ่งของร่างกายมนุษย์[[สิ่งมีชีวิต]] เมื่อเกิดการตายและ[[หัวใจ]]หยุดเต้น ร่างกายจะเกิดการเปลี่ยนแปลงหลังการตายตามลำดับก่อนหลัง โดยเกิด[[รอยเขียวช้ำหลังตาย]] [[สภาพแข็งทื่อหลังตาย]] [[การลดลงของอุณหภูมิร่างกายหลังตาย]]และเกิดการเน่าสลายตัวเปื่อยในลำดับสุดท้าย ซึ่งการเน่าสลายตัวเปื่อยของร่างกาย จะเกิดจากการสลายตัวของ[[เนื้อเยื่อ]]ภายในร่างกายโดยมีหลักการเน่าสลายตัวเปื่อยสองประการคือ [[การเน่าสลายตัวของเซลล์เองตัวเอง]]และ[[การเน่าสลาย]]
 
== รูปแบบการเน่าสลายเปื่อย ==
'''การเน่าสลายตัว''' ({{lang-en|Decomposition}}) เป็น[[การเปลี่ยนแปลงหลังการตาย]]ตามธรรมชาติอย่างหนึ่งของร่างกายมนุษย์ เมื่อเกิดการตายและ[[หัวใจ]]หยุดเต้น ร่างกายจะเกิดการเปลี่ยนแปลงหลังการตายตามลำดับก่อนหลัง โดยเกิด[[รอยเขียวช้ำหลังตาย]] [[สภาพแข็งทื่อหลังตาย]] [[การลดลงของอุณหภูมิร่างกายหลังตาย]]และเกิดการเน่าสลายตัวในลำดับสุดท้าย ซึ่งการเน่าสลายตัวของร่างกาย จะเกิดจากการสลายตัวของ[[เนื้อเยื่อ]]ภายในร่างกายโดยมีหลักการเน่าสลายตัวสองประการคือ การเน่าสลายตัวของเซลล์เองและการเน่า
=== การสลายตัวเอง ===
[[การสลายตัวของเซลล์เองตัวเอง]] ({{lang-en|Autolysis}}) เป็นการเกิดจาก[[ปฏิกิริยาทางเคมี]]ที่มี[[น้ำย่อย]][[เซลล์]]ออกมาจากตัวเอง ทำให้เนื่อเยื่อเกิดการสลายตัว และเนื่องจากการสลายตัวของเซลล์เองเป็นปฏิกิริยาทางเคมี จึงขึ้นอยู่กับอุณหภูมิและสภาพของสิ่งแวดล้อมประกอบด้วย ถ้าอุณหภูมิสูงจะเกิดปฏิกิริยาการเน่าสลายตัวอย่างรวดเร็วเช่น [[ศพ]]ในบริเวณ[[ทะเลทราย]] ความร้อนระอุของทรายจะเป็นตัวช่วยเร่งให้ศพเกิดการเน่าสลายตัวเร็วยิ่งขึ้น ในทางตรงกันข้ามถ้าอุณหภูมิต่ำจะเกิดปฏิกิริยาการเน่าสลายตัวอย่างช้าเช่น ศพในบริเวณ[[ขั้วโลกเหนือ]] ความเย็นของ[[หิมะ]] [[ธารน้ำแข็ง]]จะเป็นตัวช่วยรักษาสภาพของศพให้เกิดการเน่าสลายตัวอย่างช้า ๆ อวัยวะภายในร่างกายส่วนใดที่มีน้ำย่อยเซลล์จำนวนมาก อวัยวะในส่วนนั้นจะเกิดการเน่าสลายตัวอย่างรวดเร็ว เช่นเมื่อตายร่างกายจะเกิดการย่อยสลายที่บริเวณ[[ตับอ่อน]] ซึ่งจะเกิดการเน่าสลายตัวก่อน[[หัวใจ]]เป็นต้น
 
การเน่าสลายตัวในร่างกาย เกิดจาก[[แบคทีเรีย]]ทำปฏิกิริยาเคมีในเนื้อเยื่อของร่างกาย เนื่องจากแบคทีเรียส่วนใหญ่มีอยู่ในลำไส้ใหญ่อยู่แล้ว หลังตายแบคทีเรียเหล่านี้จะเริ่มพัฒนาการและเจริญเติบโตมากขึ้น รวมทั้งเริ่มปรากฏให้เห็นเป็นสิ่งแรกในร่างกายคือการเริ่มมี[[สีเขียว]]จาง ๆ ที่บริเวณท้องน้อย เมื่อตายมาประมาณ 24 ชั่วโมง จะพบว่าบริเวณท้องน้อยด้านขวาจะเริ่มปรากฏสีเขียวมากกว่าด้านซ้าย เนื่องจากการเจริญเติบโตของแบคทีเรียในบริเวณนั้นจะสร้างก๊าซซึ่งส่วนใหญ่เป็น[[ก๊าซไฮโดรเจนซัลไฟด์]] ซึ่งก๊าซนี้จะซึมซาบไปทุกส่วนของร่างกาย วิ่งไปตาม[[เส้นเลือด]]ทุกเส้นทำให้เส้นเลือดเกิดเป็นสีเขียวคล้ำ เป็นลวดลายมองดูคล้ายกับลายของ[[หินอ่อน]]ปรากฏบนบริเวณผิวหนังทั่วทั้งร่างกายเรียกว่า "Marbling"<ref name="การเน่าสลายตัวของร่างกาย">การเน่าสลายตัวของร่างกาย, นิติเวชศาสตร์ สำหรับพนักงานสอบสวน, พลตำรวจตรี เลี้ยง หุยประเสริฐ พบ., อว. (นิติเวชศาสตร์) ผู้บังคับการ สถาบันนิติเวชวิทยา โรงพยาบาลตำรวจ, 2549, หน้า 31</ref>
== รูปแบบการเน่าสลาย ==
=== การเน่าสลายตัวของเซลล์เอง ===
 
=== การเน่าสลายตัวของเซลล์เอง ===
[[การสลายตัวของเซลล์เอง]] ({{lang-en|Autolysis}}) เป็นการเกิดจาก[[ปฏิกิริยาทางเคมี]]ที่มี[[น้ำย่อย]][[เซลล์]]ออกมาจากตัวเอง ทำให้เนื่อเยื่อเกิดการสลายตัว และเนื่องจากการสลายตัวของเซลล์เองเป็นปฏิกิริยาทางเคมี จึงขึ้นอยู่กับอุณหภูมิและสภาพของสิ่งแวดล้อมประกอบด้วย ถ้าอุณหภูมิสูงจะเกิดปฏิกิริยาการเน่าสลายตัวอย่างรวดเร็วเช่น [[ศพ]]ในบริเวณ[[ทะเลทราย]] ความร้อนระอุของทรายจะเป็นตัวช่วยเร่งให้ศพเกิดการเน่าสลายตัวเร็วยิ่งขึ้น ในทางตรงกันข้ามถ้าอุณหภูมิต่ำจะเกิดปฏิกิริยาการเน่าสลายตัวอย่างช้าเช่น ศพในบริเวณ[[ขั้วโลกเหนือ]] ความเย็นของ[[หิมะ]] [[ธารน้ำแข็ง]]จะเป็นตัวช่วยรักษาสภาพของศพให้เกิดการเน่าสลายตัวอย่างช้า ๆ อวัยวะภายในร่างกายส่วนใดที่มีน้ำย่อยเซลล์จำนวนมาก อวัยวะในส่วนนั้นจะเกิดการเน่าสลายตัวอย่างรวดเร็ว เช่นเมื่อตายร่างกายจะเกิดการย่อยสลายที่บริเวณ[[ตับอ่อน]] ซึ่งจะเกิดการเน่าสลายตัวก่อน[[หัวใจ]]เป็นต้น
 
การเน่าสลายตัวในร่างกาย เกิดจาก[[แบคทีเรีย]]ทำปฏิกิริยาเคมีในเนื้อเยื่อของร่างกาย เนื่องจากแบคทีเรียส่วนใหญ่มีอยู่ในลำไส้ใหญ่อยู่แล้ว หลังตายแบคทีเรียเหล่านี้จะเริ่มพัฒนาการและเจริญเติบโตมากขึ้น รวมทั้งเริ่มปรากฏให้เห็นเป็นสิ่งแรกในร่างกายคือการเริ่มมี[[สีเขียว]]จาง ๆ ที่บริเวณท้องน้อย เมื่อตายมาประมาณ 24 ชั่วโมง จะพบว่าบริเวณท้องน้อยด้านขวาจะเริ่มปรากฏสีเขียวมากกว่าด้านซ้าย เนื่องจากการเจริญเติบโตของแบคทีเรียในบริเวณนั้นจะสร้างก๊าซซึ่งส่วนใหญ่เป็น[[ก๊าซไฮโดรเจนซัลไฟด์]] ซึ่งก๊าซนี้จะซึมซาบไปทุกส่วนของร่างกาย วิ่งไปตาม[[เส้นเลือด]]ทุกเส้นทำให้เส้นเลือดเกิดเป็นสีเขียวคล้ำ เป็นลวดลายมองดูคล้ายกับลายของ[[หินอ่อน]]ปรากฏบนบริเวณผิวหนังทั่วทั้งร่างกายเรียกว่า "Marbling"<ref name="การเน่าสลายตัวของร่างกาย">การเน่าสลายตัวของร่างกาย, นิติเวชศาสตร์ สำหรับพนักงานสอบสวน, พลตำรวจตรี เลี้ยง หุยประเสริฐ พบ., อว. (นิติเวชศาสตร์) ผู้บังคับการ สถาบันนิติเวชวิทยา โรงพยาบาลตำรวจ, 2549, หน้า 31</ref>
 
=== การเน่า ===
 
[[ไฟล์:DeadRatPoisonnedNaturallyMummified 2.jpg|left|thumb|ซากหนูที่เกิดการเน่าสลายตัวแบบแห้งตายซาก]]
 
[[การเน่าสลาย]] ({{lang-en|Putrefaction}}) ในส่วนต่าง ๆ ของร่างกาย จะเกิดหลังจากเกิดการเน่าสลายของเซลล์ ตาม[[ใบหน้า]] [[ไหล่]]และ[[หน้าอก]]เริ่มเกิดสีเขียวคล้ำและเพิ่มจำนวนมากขึ้นเรื่อย ๆ ร่างกายค่อย ๆ เกิดการอืดมากขึ้น บริเวณ[[ผิวหนัง]]เริ่มเกิด[[ถุงน้ำ]]จากการที่เนื้อเยื่อใต้ผิวหนังเกิดการเน่าสลายตัว ทำให้เกิด[[น้ำเหลือง]]ดันใต้ผิวหนังส่งผลให้ผิวหนังโป่งบวมมากขึ้น และต่อมาผิวหนังก็จะเกิดการเน่าปริและหลุดลอกออกไป [[เส้นผม]] [[เส้นขน]]ตามบริเวณร่างกายเกิดการหลุดออก ในช่วงระยะเวลานี้จะพบมีน้ำเหลืองซึ่งมีลักษณะสีแดงคล้ำไหลออกมาทางปากหรือทางจมูกของศพอีกด้วย
 
==== ระยะแรก ====