ผลต่างระหว่างรุ่นของ "กาลามสูตร"

เนื้อหาที่ลบ เนื้อหาที่เพิ่ม
ไม่มีความย่อการแก้ไข
บรรทัด 4:
 
{{ต้องการอ้างอิงส่วน}}
# มา อนุสฺสวเนน - อย่าเพิ่งปลงใจเชื่อโดย ด้วยการฟังตามตามๆ กันมา
# มา ปรมฺปราย - อย่าเพิ่งปลงใจเชื่อโดย ด้วยการถือว่าเป็นของเก่าเล่าสืบๆ กันมา
# มา อิติกิราย - อย่าเพิ่งปลงใจเชื่อเพราะข่าว ด้วยการเล่าลือ
# มา ปิฏกสมฺปทาเนน - อย่าเพิ่งปลงใจเชื่อโดย ด้วยการอ้างคัมภีร์หรือตำราหรือคัมภีร์
# มา ตกฺกเหตุ - อย่าเพิ่งปลงใจเชื่อโดยคิดเดาเอาเอง เพราะตรรก
# มา นยเหตุ - อย่าเพิ่งปลงใจเชื่อโดยคิดคาดคะเน เพราะการอนุมานเอา
# มา อาการปริวิตกฺเกน - อย่าเพิ่งปลงใจเชื่อโดยตรึกเอา ด้วยการคิดตรองตามอาการที่ปรากฏแนวเหตุผล
# มา ทิฎฐินิชฺฌานกฺขนฺติยา - อย่าเพิ่งปลงใจเชื่อ เพราะเห็นว่าต้องเข้ากันได้กับความเห็นของตนทฤษฎีที่พินิจไว้แล้ว
# มา ภพฺพรูปตา - อย่าเพิ่งเชื่อว่าผู้พูดควรปลงใจเชื่อ เพราะมองเห็นรูปลักษณะน่าจะเป็นไปได้
# มา สมโณ โน ครูติ - อย่าเพิ่งปลงใจเชื่อ เพราะนับถือว่าผู้พูดนั้น ท่านสมณะนี้ เป็นครูของเรา
 
แต่จงเชื่อก็ต่อเมื่อได้ศึกษาและทดสอบด้วยตนเองแล้ว (สนฺทิฏฐิโก)
เห็นว่าเป็นสัจธรรมสมบูรณ์อยู่ทุกเมื่อ (อกาลิโก)
สามารถท้าทายการพิสูจน์ของผู้อื่นได้ (เอหิปสฺสิโก)
เป็นคุณประโยชน์ต่อผู้ที่ศึกษาเรียนรู้ (โอปนยิโก)
และเป็นธรรมที่วิญญูชนสามารถเรียนรู้ได้ด้วยตนเอง (ปจฺจตฺตํเวทิตพฺโพ วิญญูหิ)
 
เมื่อใดสอบสวนจนรู้ได้ด้วยตนเองว่า..ธรรมเหล่านั้นเป็นอกุศลหรือมีโทษเมื่อนั้นพึงละเสีย และเมื่อใดสอบสวนจนรู้ได้ด้วยตนเองว่า..ธรรมเหล่านั้นเป็นกุศลหรือไม่มีโทษ
เมื่อนั้นพึงถือปฏิบัติ
เมื่อนั้นพึงถือปฏิบัติ <ref>วิธีปฏิบัติต่อสิ่งที่ตนสงสัย หรือหลักความเชื่อ 10 ประการ (กาลามสูตร) [ออนไลน์]. เข้าถึงได้จาก [http://www.lib.ru.ac.th/miscell/kalamasute10.html]</ref>
ดังนั้น พระสูตรนี้ท่านมิได้ห้ามมิให้เชื่อ แต่ให้เชื่อด้วยมีปัญญาประกอบด้วย
 
มิฉะนั้นความเชื่อต่างๆ จะไม่พ้น "ความงมงาย" และไม่พึงแปลความเลยเถิดไป
ปัจจุบันแนวคิดและหลักสูตรที่สอนให้คนมีเหตุผลไม่หลงเชื่องมงาย ในทำนองเดียวกับคำสอนของพระพุทธองค์เมื่อ 2500 ปีก่อน ได้รับการบรรจุเป็นวิชาบังคับว่าด้วยการสร้างทักษะการคิดหรือที่เรียกว่า "[[การคิดเชิงวิจารณ์]]" (Critical thinking) ไว้ใน[[กระบวนการเรียนรู้]]ในมหาวิทยาลัยของประเทศพัฒนาแล้ว<ref>[http://www.cie.org.uk/qualifications/academic/uppersec/alevel/subject/aleveldetails?assdef_id=765_804]</ref>
ว่าพระพุทธเจ้าทรงสอนไม่ให้เชื่อสิ่งเหล่านี้ และให้เชื่อสิ่งอื่นนอกจากนี้
แต่พึงเข้าใจว่า แม้แต่สิ่งเหล่านี้ซึ่งบางอย่างก็เลือกเอามาแล้วว่า
เป็นสิ่งที่น่าเชื่อที่สุด ท่านก็ยังเตือนไม่ให้ปลงใจเชื่อ
ไม่ให้ด่วนเชื่อ ไม่ให้ถือเป็นเครื่องตัดสินเด็ดขาด
ยังอาจผิดพลาดได้ ต้องใช้ปัญญาคิดพิจารณาให้ดีก่อน
เมื่อนั้นพึงถือปฏิบัติ <ref>วิธีปฏิบัติต่อสิ่งที่ตนสงสัย หรือหลักความเชื่อ 10 ประการ (กาลามสูตร) [ออนไลน์]. เข้าถึงได้จาก [http://www.lib.ru.ac.th/miscell/kalamasute10.html]</ref>
 
ที่มา: หนังสือ "พระไตรปิฎก ฉบับดับทุกข์" จัดพิมพ์โดย สำนักพิมพ์สุขภาพใจ (หน้า 41-42), หนังสือ "พระไตรปิฎกสำหรับประชาชน ย่อความจากพระไตรปิกฉบับบาลี 45 เล่ม" (หน้า 510) จัดทำโดย สุชีพ ุญญานุภาพ, หนังสือ "ธรรมาธิบาย หลักธรรมในพระไตรปิฎก" (หน้า 620 - 621) เรียบเรียงโดย อาจารย์ปัญญา ใช้บางยาง และคณะ
== ดูเพิ่ม ==
* [[เกสปุตตนิคม]] สถานที่พระพุทธเจ้าทรงแสดงกาลามสูตร